โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ vs. จอห์น วิลเลียมส์

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี.. อห์น วิลเลี่ยมส์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 -) นักแต่งเพลง นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ ผู้อำนวยเพลง และนักเปียโนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงอยู่ในแวดวงดนตรีมามากกว่า 6 ทศวรรษ โดยเป็นผู้แต่งและอำนวยเพลงประกอบภาพยนตร์จำนวนมากที่เป็นที่จดจำ ทั้งภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส (Star Wars), ซูเปอร์แมน (Superman), แฮร์รี พอตเตอร์ (Harry Potter), จูราสสิค พาร์ค (Jurassic Park), จอว์ส (Jaws), อี.ที. เพื่อนรัก (E.T. the Extra-Terrestrial), ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (Raiders of the Lost Ark) รวมถึงภาพยนตร์เกือบทุกเรื่องของสตีเวน สปีลเบิร์ก (Steven Spielberg) วิลเลี่ยมส์กลายมาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง นับตั้งแต่ผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่องจอว์ส ในปี..1975 และโด่งดังเป็นพลุแตกกับผลงานดนตรีประกอบในภาพยนตร์เรื่องสตาร์วอร์ส ในปี..1977 และตามมาด้วยอีกหลากหลายผลงานที่เป็นที่น่าจดจำ ผลงานของวิลเลี่ยมส์ โดยมากจะเป็นดนตรีสำหรับใช้ออร์เคสตร้าวงใหญ่บรรเลง เขามักจะประพันธ์เพลงธีมที่มีความโดดเด่น สอดคล้องและเหมาะสมกับภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ และด้วยความโดดเด่นของเพลงธีมในภาพยนตร์แต่ละเรื่องนี้เอง จึงเป็นที่จดจำต่อผู้ชมเป็นอย่างมาก และทำให้วิลเลี่ยมส์เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงด้วยผลงานอันโดดเด่นของเขา วิลเลี่ยมส์กลายมาเป็นที่รู้จักและเป็นที่ชื่นชอบต่อสาธารณชน ด้วยผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์ที่มีคุณภาพโดดเด่นจนเป็นที่ประจักษ์ วิลเลี่ยมส์ยังเป็นวาทยกรที่เป็นที่ยกย่องคนหนึ่ง เขาเคยได้เป็นวาทยกรประจำวงบอสตัน ป็อปส์ ออร์เคสตร้า (Boston Pops O rchestra) อยู่ 14 ปี ตั้งแต่ปี..1980-1994 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นวาทยกรกิตติมศักดิ์ของวง และวิลเลี่ยมส์ก็มักจะได้รับเชิญให้เป็นวาทยกรเนื่องในโอกาสต่างๆ ทั้งคอนเสิร์ต และกิจกรรมสำคัญในอเมริกา เมื่อมีการจัดอันดับดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยมตามสถาบันภาพยนตร์หรือสื่อต่างๆ ดนตรีที่วิลเลี่ยมส์ประพันธ์ขึ้นมักจะติดอันดับอยู่เสมอ โดยเฉพาะเพลงธีมสตาร์วอร์ส (Star Wars Theme) ภาพยนตร์ที่วิลเลี่ยมส์ทำดนตรีประกอบนั้น มักจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาดนตรีประกอบยอดเยี่ยมอยู่เสมอ ถึงปัจจุบันนี้ เขามีชื่อเข้าชิงแล้วถึง 50 ครั้ง เคยชนะ 5 ครั้ง เขาเป็นนักดนตรีที่มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์มากที่สุด เขายังเป็นผู้ที่มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์มากเป็นอันดับที่ 2 รองจากวอลท์ ดิสนีย์ (Walt Disney) และวิลเลี่ยมส์ยังได้รับรางวัลเกียรติยศต่างๆมากมาย ที่เป็นสิ่งยืนยันว่าเขานั้นเป็นบุคคลที่ประสบความสำเร็จในอาชีพนักประพันธ์ดนตรี และมีคุณูปการต่อวงการดนตรีเป็นอย่างมาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์ มี 18 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ริชาร์ด นิกสันลอสแอนเจลิสวอชิงตัน ดี.ซี.วอลต์ ดิสนีย์สตีเวน สปีลเบิร์กอัลเฟรด ฮิตช์ค็อกอี.ที. เพื่อนรักจอร์จ ลูคัสจอห์น เอฟ. เคนเนดีทำเนียบขาวนิวยอร์ก (แก้ความกำกวม)แฟรงก์ ซินาตราแฮร์รี่ พอตเตอร์แจ๊สเฮนรี แมนซินีเจ. เค. โรว์ลิงเจมส์ บอนด์เจอร์รี โกลด์สมิธ

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและริชาร์ด นิกสัน · จอห์น วิลเลียมส์และริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

ลอสแอนเจลิส

ลอสแอนเจลิส (Los Angeles) หรือที่รู้จักในชื่อ แอลเอ (L.A.) เป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากที่สุดอันดับ 2 ในสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในศูนย์กลาง ทางด้าน เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการบันเทิง ลอสแอนเจลิสตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และเริ่มตั้งเป็นเมืองเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) ในขณะที่มีประชากร 1,610 คน ในปี พ.ศ. 2543 ตามสำมะโนประชากรลอสแอนเจลิส มีประชากรประมาณ 4 ล้านคนในเขตตัวเมือง และเขตรอบนอกประมาณ 17.5 ล้านคน ลอสแอนเจลิสได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีการปะปนของวัฒนธรรมมากที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง เนื่องจากการอพยพของคนหลายเชื่อชาติโดยเฉพาะชาวเอเชีย และอเมริกาใต้ เนื่องจากลักษณะของอากาศที่อบอุ่นสบาย และลักษณะการเป็นอยู่ต่างๆ ชื่อเมืองลอสแอนเจลิส (Los Angeles) มาจากคำว่า โลสอังเคเลส (Los Ángeles) ในภาษาสเปน หมายถึง ทูตสวรรค์หลายองค์ เป็นรูปพหูพจน์ของคำว่า el ángel ซึ่งเป็นเพศชาย ชื่อเมืองจึงมีความหมายว่า "เมืองแห่งทูตสวรรค์" ลอสแอนเจลิสได้เป็นที่รู้จักในฐานะเป็นที่ตั้งของฮอลลีวูด และปลายทางของถนนสายประวัติศาสตร์ ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 66 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่ตั้งอยู่ในลอสแอนเจลิส ได้แก่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส (UCLA) และมหาวิทยาลัยเซาเทิร์น แคลิฟอร์เนีย (USC) ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงในเมือง ได้แก่ ลอสแอนเจลิส เลเกอร์ส (บาสเกตบอล) ลอสแอนเจลิส คลิปเปอร์ส (บาสเกตบอล) ลอสแอนเจลิส สปาร์ค (บาสเกตบอลหญิง) ลอสแอนเจลิส ดอดจ์เจอร์ส (เบสบอล) ลอสแอนเจลิส คิงส์ (ฮอกกี้น้ำแข็ง) ลอสแอนเจลิส กาแลกซี (ฟุตบอล) ซี.ดี. ชีวาส ยูเอสเอ (ฟุตบอล) นอกจากนี้ในเมืองลอสแอนเจลิส ได้เคยเป็นเจ้าภาพจัดงานโอลิมปิกสองครั้ง ในปี พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) และ พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ในอดีตมีทีมอเมริกันฟุตบอลในชื่อ "ลอสแอนเจลิส เรดเดอร์ส" ซึ่งปัจจุบันได้ย้ายไปไปประจำเมืองโอคแลนด์ และเปลี่ยนชื่อเป็นโอคแลนด์ เรดเดอรส์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและลอสแอนเจลิส · จอห์น วิลเลียมส์และลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวอชิงตัน ดี.ซี. · จอห์น วิลเลียมส์และวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

วอลต์ ดิสนีย์

''Newman Laugh-O-Gram'' (1921) วอลเตอร์ อีเลียส ดิสนีย์ (Walter Elias Disney) (5 ธันวาคม 2444 - 15 ธันวาคม 2509, ค.ศ. 1901-1966) เป็นผู้สร้างผลงานการ์ตูนที่แพร่หลาย และประสบความสำเร็จมากที่สุดของโลกคนหนึ่ง เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทวอลท์ ดิสนีย์ และสร้างภาพยนตร์การ์ตูนสีเป็นคนแรก เริ่มทำการ์ตูน มิกกี้เม้าส์ (Mickey Mouse) โดนัลด์ดั๊ก (Donald Duck) และภาพยนตร์เรื่องยาว เช่น สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs), แฟนตาเซีย (Fantasia), พินอคคิโอ (Pinocchio) และ แบมบี้ (Bambi) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หนังการ์ตูนต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการสร้างจำนวนมาก ดิสนีย์จึงเริ่มทำภาพยนตร์เกี่ยวกับการผจญภัยที่เป็นจริง เช่น เดอะ ลิวิง เดสเสิร์ท (The Living Desert) นอกจากนี้ยังได้สร้างสวนสนุกสองแห่ง และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 59 รางวัล โดยได้รับรางวัลออสการ์ถึง 26 รางวัล นับเป็นบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลออสการ์มากที่สุดในโลก 100px.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและวอลต์ ดิสนีย์ · จอห์น วิลเลียมส์และวอลต์ ดิสนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน สปีลเบิร์ก

ตีเวน อัลลัน สปีลเบิร์ก เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1946 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ผู้สร้างหนัง สปีลเบิร์กรับรางวัลออสการ์ 3 ครั้ง.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและสตีเวน สปีลเบิร์ก · จอห์น วิลเลียมส์และสตีเวน สปีลเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก

อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก (Alfred Hitchcock; 13 สิงหาคม 1899 — 29 เมษายน 1980) ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงมากในแนวระทึกขวัญหรือ ทริลเลอร์ ฮิตช์ค็อกได้เริ่มต้นกำกับภาพยนตร์ในอังกฤษ ก่อนที่จะไปกำกับที่อเมริกาในปี 1939 ฮิตช์ค็อกถือเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นตำนานบนแผ่นฟิล์มของฮอลลีวู้ดและของโลก ในด้านการทำภาพยนตร์แนวทริลเลอร์ และผู้กำกับภาพยนตร์รุ่นหลัง ๆ ต่อมา ก็มีหลายคน ที่ยกย่องฮิตช์ค็อกซ์ และเอาสไตล์ของฮิตช์ค็อกเป็นต้นแบบในการทำหนัง ถึงแม้ภายในช่วงชีวิตของฮิตช์ค็อกเมื่ออยู่ในอเมริกานั้นเขาจะโด่งดังและมีชื่อเสียงมาก แต่กลับไม่ได้รับคำวิจารณ์ที่ดีนักจากนักวิจารณ์ในสมัยนั้น ภาพยนตร์ของเขาส่วนใหญ่ที่สร้างขึ้น จะเน้นทางด้านความแฟนตาซี และความหวาดกลัวของมนุษย์ในรูปแบบต่าง ๆ และชอบใช้เหตุการณ์ที่มีตัวละครที่ไม่รู้ประสีประสา ให้ตกอยู่ในสถานการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุมของตัวละครนั้น ๆ ซึ่งนักวิจารณ์หลายคนกล่าวว่า ฮิตช์ค็อกนั้นไม่ได้กำกับภาพยนตร์แต่กำกับอารมณ์ของคนดูมากกว่า และตัวฮิตช์ค็อกเองก็เคยกล่าวว่า เขาสนุกกับการได้เล่นกับความรู้สึกของคนดู ฮิตช์ค็อกเปิดเผยว่า เมื่อตอนอายุได้ 5 ขวบ เขาจำได้ว่าเคยถูกพ่อส่งตัวไปให้ตำรวจจับเข้าคุกเป็นเวลา 10 นาที เป็นการลงโทษเนื่องจากความซุกซน นั่นทำให้เขาหวาดกลัวมาก และเป็นอิทธิพลส่งผลให้ผลงานภาพยนตร์แต่ละเรื่องของเขา เจ้าหน้าที่ตำรวจหรือนักสืบผู้เชี่ยวชาญจะไม่ใช่ตัวละครสำคัญหรือเป็นเงื่อนไขในการคลี่คลายปมลับเลย ซ้ำในบางเรื่องยังทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงกว่าเดิมหรือยุ่งยากยิ่งขึ้นไปอีก นอกจากนี้แล้ว อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก ยังมีรูปแบบการมีส่วนร่วมในภาพยนตร์ของตัวเองที่ไม่เหมือนใคร ไม่เพียงแต่กำกับเท่านั้น เขายังมักปรากฏตัวในหนังแต่ละเรื่องด้วย โดย การเดินผ่านไปมาหน้ากล้อง หรือโผล่มาเป็นตัวประกอบในฉากต่าง ๆ ซึ่งทางภาษาภาพยนตร์เรียกว่า cameo.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอัลเฟรด ฮิตช์ค็อก · จอห์น วิลเลียมส์และอัลเฟรด ฮิตช์ค็อก · ดูเพิ่มเติม »

อี.ที. เพื่อนรัก

อี.ที.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและอี.ที. เพื่อนรัก · จอห์น วิลเลียมส์และอี.ที. เพื่อนรัก · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ลูคัส

อร์จ วอลตัน ลูคัส จูเนียร์ (George Walton Lucas, Jr.; เกิด 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1944) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง ผู้เขียนบทภาพยนตร์ ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ชุดมหากาพย์สตาร์ วอร์ส และอินเดียน่า โจนส์ อีกทั้งเป็นหนึ่งในบรรดาผู้กำกับและผู้ผลิตที่ประสบผลสำเร็จทางธุรกิจอุตสาหกรรมทางภาพยนตร์ โดยมีผลกำไรสุทธิที่ 3 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี..

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอร์จ ลูคัส · จอร์จ ลูคัสและจอห์น วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอฟ. เคนเนดี

รือเอก จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เจเอฟเค (JFK ย่อจากชื่อภาษาอังกฤษ) (29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 — 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 35 ของสหรัฐอเมริกา เจ้าของวาทะเปี่ยมไปด้วยจิตสำนึกหน้าที่ความรับผิดชอบของพลเมือง: "จงอย่าถามว่าประเทศชาติจะให้อะไรแก่ท่าน แต่จงถามตัวท่านเองว่าท่านจะทำอะไรให้ประเทศชาติ" เกิดเมื่อ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 ที่เมืองบรู๊คลาย รัฐแมสซาชูเซตส์ อยู่ที่นั่นถึง 10 ขวบ ครอบครัวก็ย้ายเข้านิวยอร์ก เป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ลูกคนที่ 2 ในจำนวน 9 คนของโจเซฟ แพทริก เคนเนดี คหบดีใหญ่อดีตเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำสหราชอาณาจักร จากโรงเรียนมัธยมในรัฐคอนเนตทิคัต เรียนต่อมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เข้าหน่วยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บังคับการเรือ ตอร์ปิโด Patrol Torpedo boat 59 รับเหรียญกล้าหาญจากวีรกรรมช่วยเพื่อนทหารให้รอดชีวิตจากเหตุเรืออับปางด้วยข้าศึกโจมตี เขาว่ายน้ำพยุงร่างเพื่อนที่ได้รับบาดเจ็บไปโดยไม่ทอดทิ้ง ลงสนามการเมืองได้เป็นวุฒิสมาชิกรัฐบ้านเกิด จากนั้นเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ค.ศ. 1960 สหรัฐอเมริกาได้ประธานาธิบดีที่หนุ่มที่สุดเพียง 43 ปี และเป็นคริสต์คนแรกที่ดำรงตำแหน่งยิ่งใหญ่นี้ เจเอฟเคบริหารประเทศด้วยพลังหนุ่ม (เป็นคำหนึ่งที่เขาชอบมาก) และมองโลกในแง่ดี เคเนดี้เป็นผู้จัดตั้ง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา หรือยูเสด เพื่อให้การสนับสนุนประเทศประชาธิปไตยในการป้องกันลัทธิคอมมิวนิสต์ วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1961 เขาแถลงต่อสภาคองเกรสว่าอเมริกากำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายที่ไม่ธรรมดา ให้สภาอนุมัติงบประมาณเพื่อจุดมุ่งหมายของชาติคือ การส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์ และเดินทางกลับอย่างปลอดภัย ด้านการต่างประเทศ เคนเนดียุติวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ทางการเมืองด้วยการยื่นคำขาดให้สหภาพโซเวียตถอนฐานยิงขีปนาวุธในประเทศคิวบา ความสำเร็จอีกประการหนึ่งคือ สนธิสัญญาระหว่างประเทศในการห้ามทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ อย่างไรก็ตามนโยบายที่ผิดพลาดก็มีเช่นกัน การให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่เวียดนามใต้ เป็นจุดเริ่มต้นสงครามเวียดนามที่โหดร้ายรุนแรง แรกทีเดียวประธานาธิบดีเชื่อข้อมูลฝ่ายทหารและนักค้าอาวุธสงคราม ว่าสหรัฐจะสามารถชนะกองกำลังคอมมิวนิสต์ในเวียดนามได้ไม่ยาก เพราะแสนยานุภาพทางทหารเหนือกว่า เฉพาะอย่างยิ่งกองกำลังทางอากาศที่ใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก แต่นั่นไม่จริง สงครามเวียดนามยืดเยื้อ ทหารอเมริกันเข้าสมรภูมิเป็นจำนวนมหาศาล ความสูญเสียเกินบรรยาย ช่วงเวลาที่จะหมดวาระ เตรียมชิงเก้าอี้ผู้นำสมัยที่ 2 เขาตัดสินใจใช้การเจรจาทางการทูตยุติสงคราม แต่จากนั้นไม่นานเคนเนดีก็ถูกยิงเสียชีวิตที่เมืองแดลลัส รัฐเทกซัส ในเหตุการณ์การลอบสังหารฯ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963 ประวัติศาสตร์บันทึกถึงประธานาธิบดีผู้มีอายุน้อยที่สุดของสหรัฐอเมริกา ผู้มีผลงานโดดเด่นมากมายท่ามกลางวิกฤตการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง รอยต่อของยุคก้าวสู่สงครามเย็น เพื่อเป็นการให้เกียรติของท่าน รัฐบาลจึงนำชื่อของท่านมาตั้งเป็น ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีในนครนิวยอร์ก ของ สหรัฐอเมริกา อีกด้ว.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น เอฟ. เคนเนดี · จอห์น วิลเลียมส์และจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี. โดยเป็นสถานที่พำนักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาทุกคนตั้งแต่ประธานาธิบดีจอห์น แอดัมส์ ในปี..

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและทำเนียบขาว · จอห์น วิลเลียมส์และทำเนียบขาว · ดูเพิ่มเติม »

นิวยอร์ก (แก้ความกำกวม)

นิวยอร์ก อาจหมายถึง.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและนิวยอร์ก (แก้ความกำกวม) · จอห์น วิลเลียมส์และนิวยอร์ก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงก์ ซินาตรา

ฟรานซิส อัลเบิร์ต "แฟรงก์" ซินาตรา (12 ธันวาคม ค.ศ. 1915 – 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1998) เป็นนักแสดง นักร้อง และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน เขาได้กลายเป็นหนึ่งในศิลปินผู้ทรงอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 ด้วยยอดจำหน่ายแผ่นเสียงกว่า 150 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้กลายเป็นหนึ่งในศิลปินที่มียอดจำหน่ายสูงสุดตลอดกาล ซินาตราเกิดในโฮโบเคน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เป็นลูกหลานของชาวอิตาลีที่อพยพเข้ามาในอเมริกา เขาเริ่มงานดนตรีในช่วงที่ ดนตรีสวิง กำลังเป็นที่นิยม โดยร่วมวงกับ แฮร์รี เจมส์ และทอมมี ดอร์ซีย์ จนต่อมาซินาตราออกมาทำงานดนตรีเดี่ยวซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี จนได้เซนต์สัญญากับค่ายโคลัมเบีย ในปี..

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฟรงก์ ซินาตรา · จอห์น วิลเลียมส์และแฟรงก์ ซินาตรา · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · จอห์น วิลเลียมส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แจ๊ส

แจ๊ส เป็นลักษณะดนตรีชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากกลุ่มคนดำในสหรัฐอเมริกา (African Americans) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีลักษณะพิเศษคือโน้ตบลูส์ การลัดจังหวะ จังหวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการเล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรีคลาสสิกชนิดหนึ่งของสหรัฐอเมริก.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและแจ๊ส · จอห์น วิลเลียมส์และแจ๊ส · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี แมนซินี

นรี แมนซินี (16 เมษายน ค.ศ. 1924- 14 มิถุนายน ค.ศ. 1994) เป็นนักประพันธ์เพลง คอนดักเตอร์ และนักเรียบเรียงเพลง ชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลออสการ์มาแล้ว และเคยได้รับรางวัลแกรมมี่หลายรางวัลรวมถึงสาขาประสบความสำเร็จในอาชีพการงานในปี 1995 ผลงานที่มีชื่อเสียงของเขาเช่นธีมเพลงประกอบภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง The Pink Panther และเพลง Moon River เฮนรี แมนซินี จบการศึกษาวิชาดนตรีจากสถาบันดนตรีที่มีชื่อเสียงแห่งมหานครนิวยอร์กที่ชื่อ The Carnegie Institute Of Technology Music School และเรียนต่อที่ Juilliard School of Music เป็นลูกศิษย์ของอาจารย์ดนตรีที่มีชื่อเสียงอย่าง Castelnuovo -Tedesco และ Krenek งานของเขาส่วนมากเป็นงานแต่งเพลงและเป็นผู้อำนวยการเพลงประกอบภาพยนตร์และโทรทัศน์ และเพลง Moon River ที่โด่งดังเขาเป็นผู้แต่งทำนอง.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเฮนรี แมนซินี · จอห์น วิลเลียมส์และเฮนรี แมนซินี · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจ. เค. โรว์ลิง · จอห์น วิลเลียมส์และเจ. เค. โรว์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ บอนด์

มส์ บอนด์ (James Bond) เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย เอียน เฟลมมิ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2496 ซึ่งปรากฏอยู่ในนวนิยาย 12 ตอนและรวมเรื่องสั้นอีก 2 เล่ม ต่อมาหลังจากเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2507 มีนักประพันธ์อีกหลายคนได้สิทธิ์ในการประพันธ์ เจมส์ บอนด์ ต่อ ได้แก่ คิงส์ลีย์ เอมิส, คริสโตเฟอร์ วูด, จอห์น การ์ดเนอร์, เรย์มอนด์ เบ็นสัน, เซบาสเตียน ฟอล์ค, เจฟฟรีย์ ดีฟเวอร์ และ วิลเลียม บอยด์ นอกจากนี้ยังมีผลงานประพันธ์ของ ชาร์ลี ฮิกสัน ในชุด ยังบอนด์ และ เคต เวสต์บรูค ประพันธ์ในรูปแบบไดอารีของตัวละคร มิสมันนีเพนนี เจมส์ บอนด์ ยังได้ถูกดัดแปลงออกมาเป็นสื่อต่างๆ เช่น ละครโทรทัศน์, ละครวิทยุ, การ์ตูน, วิดีโอเกมและภาพยนตร์ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากทั่วโลก โดยเป็นภาพยนตร์ชุดที่ทำเงินสูงสุดอันดับที่ 4 เริ่มจากเรื่อง พยัคฆ์ร้าย 007 (Dr.No) เมื่อปี พ.ศ. 2505 โดยมี ฌอน คอนเนอรี รับบท เจมส์ บอนด์ ปัจจุบันออกฉายแล้วทั้งหมด 24 ภาค ผลิตโดย อีโอเอ็น โปรดักชันส์ ภาคล่าสุด ชื่อว่า องค์กรลับดับพยัคฆ์ร้าย (Spectre) แดเนียล เคร็ก เป็นเจมส์ บอนด์ ครั้งที่ 4 และเป็นคนที่ 6 ที่รับบทนี้ นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์ที่ไม่ใช่ของ อีโอเอ็น คือ ทีเด็ดเจมส์บอนด์ 007 (Casino Royale) เมื่อปี พ.ศ. 2510 เดวิด นิเวน เป็นเจมส์ บอนด์ และ พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ (Never Say Never Again) เมื่อปี พ.ศ. 2526 ซึ่งเป็นการรีเมค ธันเดอร์บอลล์ 007 (Thunderball) โดย ฌอน คอนเนอรี กลับมารับบทเป็นเจมส์ บอนด์ อีกครั้ง ตัวเลข 007 ที่อยู่ท้ายชื่อของเจมส์ บอนด์ หมายถึงรหัสลับประจำตัวที่ใช้เรียกแทนตัวเขาในฐานะของสายลับคนหนึ่ง โดยเลข 00 ที่นำหน้าเลข 7 อยู่นั้น ถือเป็นสัญลักษณ์ที่แจ้งให้ทราบว่า ตัวเขาเป็นสายลับที่ได้รับอนุญาตให้สามารถสังหารชีวิตผู้อื่นได้โดยไม่ผิดกฎหมายสมเกียรติ อ่อนวิมล.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจมส์ บอนด์ · จอห์น วิลเลียมส์และเจมส์ บอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์รี โกลด์สมิธ

อรัลด์ คิง "เจอร์รี" โกลด์สมิธ (10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929 - 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2004) นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 18 ครั้ง และได้รับรางวัลจากเรื่อง ดิ โอเมน (1976) ได้รับรางวัลเอมมี 4 ครั้ง โกลด์สมิธมีผลงานการแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ยาวนานถึง 53 ปี ตั้งแต่ทศวรรษ 1950 ถึง 2000 โดยเฉพาะภาพยนตร์แอคชัน ระทึกขวัญ และภาพยนตร์ไซไฟ ผลงานของโกลด์สมิธที่ได้รับการจดจำ คือดนตรีประกอบภาพยนตร์ชุดสตาร์ เทรค เขาเป็นผู้ทำดนตรีประกอบภาพยนตร์ 5 ภาค คือภาคแรก, ภาค 5, 8, 9 และ 10 และซีรีส์สตาร์ เทรค: วอยเอเจอร.

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและเจอร์รี โกลด์สมิธ · จอห์น วิลเลียมส์และเจอร์รี โกลด์สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ มี 347 ความสัมพันธ์ขณะที่ จอห์น วิลเลียมส์ มี 100 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 18, ดัชนี Jaccard คือ 4.03% = 18 / (347 + 100)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐและจอห์น วิลเลียมส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »