โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความล้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความล้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

ความล้า vs. ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

วามล้า หรือ ความอ่อนล้า เป็นความรู้สึกเหนื่อยเชิงจิตวิสัย ซึ่งแตกต่างจากความอ่อนแอ (weakness) และมีการตั้งต้นทีละน้อย ความล้าสามารถบรรเทาได้โดยได้รับการพักผ่อนชั่วระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งต่างจากความอ่อนแอ ความล้าอาจมีสาเหตุทางร่างกายหรือจิตใจก็ได้ ความล้าทางกายภาพเป็นสภาพที่กล้ามเนื้อไม่สามารถธำรงสมรรถภาพทางกายภาพเหมาะสมได้ชั่วคราว และกิจกรรมทางกายอย่างหักโหมยิ่งทำให้ความล้ารุนแรงขึ้น ความล้าทางจิตใจเป็นการลดสมรรถภาพการรู้สูงสุดไปชั่วคราว อันเป็นผลมาจากกิจกรรมการคิดยาวนาน ความล้าสามารถแสดงออกมาเป็นอาการง่วงซึม ภาวะง่วงงุน หรือความล้ามุ่งประเด็นตั้งใ. วะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum depression), ภาวะซึมเศร้าหลังให้กำเนิด (postnatal depression) หรือโรคซึมเศร้าหลังคลอด เป็นโรคทางอารมณ์อย่างหนึ่งที่สัมพันธ์กับการคลอดบุตร ซึ่งอาจพบได้ทั้งในฝ่ายชายและฝ่ายหญิง อาการสำคัญเช่น มีอารมณ์เศร้าอย่างมาก รู้สึกไม่มีเรี่ยวแรง วิตกกังวล ร้องไห้บ่อย หงุดหงิด การนอนผิดปกติ (เช่น นอนไม่หลับ หรือนอนมากผิดปกติ) การกินผิดปกติ (เช่น กินไม่ลง หรือกินไม่หยุด) เป็นต้น ส่วนใหญ่มักพบที่เวลา 1 สัปดาห์ ถึง 1 เดือน หลังคลอด ภาวะนี้อาจส่งผลเสียต่อทารกได้ สาเหตุที่แน่ชัดของภาวะซึมเศร้าหลังคลอดนั้นยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจน ปัจจุบันเชื่อกันว่าเป็นผลของปัจจัยหลายด้านทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ เช่น การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในช่วงหลังคลอดบุตร การอดนอน เป็นต้น ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะนี้ได้แก่ การเคยเป็นภาวะซึมเศร้าหลังคลอดบุตรคนก่อน โรคอารมณ์สองขั้ว ประวัติโรคซึมเศร้าในครอบครัว ความเครียดทางจิตใจ การมีภาวะแทรกซ้อนระหว่างการคลอด การขาดคนช่วยเหลือดูแล หรือการใช้สารเสพติด การวินิจฉัยทำได้โดยดูจากอาการ แม้สตรีหลังคลอดส่วนใหญ่จะมีช่วงเวลาของความเศร้าและความกังวลหลังคลอด แต่หากอาการเหล่านี้ยังคงเป็นอยู่นานเกิน 2 สัปดาห์หรือเป็นรุนแรง จำเป็นจะต้องสงสัยว่าอาจมีภาวะซึมเศร้าหลังคลอดร่วมด้วย ในผู้คลอดที่มีปัจจัยเสี่ยง การมีผู้ช่วยเหลือด้านจิตใจอาจเป็นปัจจัยบวกที่ช่วงป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอดได้ การรักษาอาจใช้การทำจิตบำบัดร่วมกับการใช้ยา รูปแบบการทำจิตบำบัดที่ได้ผลได้แก่ จิตบําบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (IPT), การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) และ จิตบำบัดแบบจิตพลวัต (psychodynamic therapy) ปัจจุบันหลักฐานส่วนใหญ่สนับสนุนว่าการใช้ยาต้านซึมเศร้าในกลุ่ม SSRI จะได้ผล ภาวะซึมเศร้าหลังคลอดพบได้ในหญิงช่วงคลอดประมาณ 15% และยังพบในฝ่ายชายได้ราว 1-26% แล้วแต่การศึกษา โรคจิตหลังคลอดซึ่งเป็นภาวะทางจิตเวชที่พบได้ในช่วงคลอดเช่นกันแต่มีความรุนแรงกว่ามากจะพบได้ในหญิงหลังคลอด 0.1-0.2% ซึ่งภาวะนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยของการฆ่าทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี ซึ่งพบได้ในอัตรา 8 ใน 100,000 การเกิดมีชีพในสหรัฐอเมริก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความล้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

ความล้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความล้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอด

ความล้า มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความล้าและภาวะซึมเศร้าหลังคลอด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »