โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความร้อนและแผลไหม้

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความร้อนและแผลไหม้

ความร้อน vs. แผลไหม้

ในทางฟิสิกส์ ความร้อน (ใช้สัญลักษณ์ว่า Q) หมายถึง พลังงานที่ถ่ายเทจากสสารหรือระบบหนึ่งไปยังสสารหรือระบบอื่นโดยอาศัยความแตกต่างของอุณหภูมิ ในทางอุณหพลศาสตร์จะใช้ปริมาณ TdS ในการวัดปริมาณความร้อน ซึ่งมีความหมายถึง อุณหภูมิสัมบูรณ์ของวัตถุ (T) คูณกับอัตราการเพิ่มของเอนโทรปีในระบบเมื่อวัดที่พื้นผิวของวัตถุ ความร้อนสามารถไหลผ่านจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า หากต้องการให้ความร้อนถ่ายเทไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิเท่ากันหรือสูงกว่าจะทำได้ก็ต่อเมื่อใช้ปั๊มความร้อนเท่านั้น การสร้างแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงสามารถทำได้จากปฏิกิริยาเคมี (เช่นการเผาไหม้) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (เช่นฟิวชันในดวงอาทิตย์) การเคลื่อนที่ของอนุภาคแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่นเตาไฟฟ้า) หรือการเคลื่อนที่ทางกล (เช่นการเสียดสี) โดยที่อุณหภูมิเป็นหน่วยวัดปริมาณของพลังงานภายในหรือเอนทาลปี ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ส่งผลต่ออัตราการถ่ายเทความร้อนของวัตถุนั้นๆ ความร้อนสามารถถ่ายเทระหว่างวัตถุได้สามวิธีคือ การแผ่รังสี การนำความร้อน และการพาความร้อน นอกจากนี้มีกระบวนการถ่ายเทความร้อนอีกแบบหนึ่งคือ ความร้อนแฝง ซึ่งเกิดขึ้นในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสถานะ เช่น จากของแข็งเป็นของเหลว หรือจากของเหลวเป็นก๊าซ เป็นต้น. แผลไหม้ (burn) เป็นการบาดเจ็บต่อผิวหนังหรือเนื้อเยื่ออื่นอย่างหนึ่ง มีสาเหตุจากความร้อน ไฟฟ้า สารเคมี แรงเสียดทาน หรือการแผ่รังสี แผลไหม้ส่วนใหญ่เกิดจากความร้อนจากของเหลว ของแข็งร้อน หรือไฟ แผลไหม้ที่กระทบเพียงผิวหนังชั้นบนสุดเรียก แผลไหม้ระดับหนึ่ง แผลดูแดงไม่มีตุ่มพอง และตรงแบบปวดกินเวลาประมาณสามวัน เมื่อการบาดเจ็บลึกถึงผิวหนังข้างใต้ เรียก แผลไหม้ระดับสอง มักมีตุ่มพองและมักเจ็บมาก การหายใช้เวลานานถึงแปดสัปดาห์และอาจมีแผลเป็น ในแผลไหม้ระดับสาม การบาดเจ็บลามไปถึงผิวหนังทุกชั้น มักไม่เจ็บและบริเวณแผลไหม้จะแข็ง แผลมักไม่หายเอง และแผลไหม้ระดับสี่จะเป็นบาดแผลถึงที่เนื้อเยื่อลึกลงไป เช่น กล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ หรือกระดูก แผลไหม้มักมีสีดำและมักนำสู่การเสียส่วนที่ถูกไหม้นั้น การรักษาขึ้นกับความรุนแรงของแผลไหม้ แผลไหม้พื้นผิวอาจรักษาด้วยยาระงับปวดอย่างง่าย ขณะที่แผลขนาดใหญ่อาจต้องการการรักษาที่ศูนย์รักษาแผลไหม้ ซึ่งใช้เวลานาน การใช้น้ำเย็นจากก๊อกอาจช่วยลดอาการเจ็บปวดและลดความรุนแรงของแผลได้ แต่แผลไหม้ที่เป็นวงกว้างอาจทำให้เกิดภาวะตัวเย็นเกิน แผลไหม้ระดับสองอาจต้องทำความสะอาดด้วยน้ำและสบู่ และการทำแผล วิธีการรักษาแผลพุพองยังไม่แน่ชัด แต่การปล่อยแผลให้เป็นอย่างเดิมนั้นอาจสมเหตุสมผล แผลไหม้ระดับสามมักต้องการการผ่าตัด เช่นการตัดแต่งผิวหนัง แผลไหม้ขนาดใหญ่ต้องรักษาด้วยการฉีดของเหลวเข้าเส้นเลือด เพราะการตอบสนองต่อการอักเสบอาจทำให้ของเหลวในหลอดเลือดฝอยไหลออกมา และเกิดการบวมน้ำได้ แผลไหม้ในกรณีร้ายแรงอาจทำให้เกิดการติดเชื้อ ขณะที่แผลไหม้ขนาดใหญ่อาจอันตรายถึงชีวิต แต่การรักษาในสมัยใหม่นับตั้งแต..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความร้อนและแผลไหม้

ความร้อนและแผลไหม้ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การแผ่รังสี

การแผ่รังสี

ในทางฟิสิกส์ การแผ่รังสี (อังกฤษ: radiation) หมายถึงกระบวนการที่อนุภาคพลังงานหรือคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางหรืออวกาศ รังสีสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ รังสีที่แตกตัวได้และรังสีที่ไม่ก่อให้เกิดการแตกตัวของประจุ อย่างไรก็ตาม คำว่า "รังสี" มักหมายถึงกัมมันตภาพรังสีเพียงอย่างเดียว (คือ รังสีที่มีพลังงานเพียงพอที่จะทำให้อะตอมเปลี่ยนเป็นไอออน) แต่ความเป็นจริงแล้วก็สามารถหมายถึงรังสีที่ไม่ก่อให้เกิดการแตกตัวของประจุด้วยเช่นกัน (เช่น คลื่นวิทยุหรือแสงที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า รูปแบบเรขาคณิตของการแผ่รังสีออกจากตัวกลาร่รร่คียยเมวังนำไปสู่ระบบของหน่วยวัดและหน่วยทางฟิสิกส์ที่สามารถใช้ได้กับรังสีทุกประเภท รังสีทั้งสองประเภทล้วนสามารถเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ) การแผ่รังสี สามารถนำไปใช้งานในงานทางด้านความร้อนต่าง ๆ เช่น แผ่นรองหัวเตาแก๊สอินฟาเรด การถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์ แลกเปลี่ยนความร้อน การแผ่รังสี หมวดหมู่:ฟิสิกส์ หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์.

การแผ่รังสีและความร้อน · การแผ่รังสีและแผลไหม้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความร้อนและแผลไหม้

ความร้อน มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ แผลไหม้ มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.03% = 1 / (20 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความร้อนและแผลไหม้ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »