โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก vs. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

วามตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Partnership, ย่อ: TPP) เป็นความตกลงการค้าระหว่างประเทศขอบแปซิฟิกสิบสองประเทศ ว่าด้วยประเด็นนโยบายสาธารณะต่าง ๆ ซึ่งบรรลุเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 หลังเจรจานาน 7 ปี และลงนามเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ในออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป้าหมายที่แถลงของความตกลงฯ คือ เพื่อ "ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการสร้างและรักษางาน การเสริมสร้างนวัตกรรม ผลิตภาพและความสามารถการแข่งขัน ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ลดความยากจนในประเทศ และส่งเสริมความโปร่งใส ธรรมาภิบาลและเสริมสร้างการคุ้มครองแรงงานและสิ่งแวดล้อม" ความตกลง TPP มีมาตรการเพื่อลดอุปสรรคทางการค้า เช่น พิกัดอัตรา และสถาปนากลไกการระงับข้อพิพาทผู้ลงทุน-รัฐ (แต่รัฐเลือกได้ว่าไม่ดำเนินมาตรการที่เกี่ยวข้องกับยาสูบ) รัฐบาบลสหรัฐถือว่า TPP เป็นความตกลงเคียงคู่กับความตกลงหุ้นส่วนการค้าและการลงทุนภาคพื้นแอตแลนติก (Transatlantic Trade and Investment Partnership, TTIP) ที่มีการเสนอ ซึ่งเป็นความตกลงที่คล้ายกันอย่างกว้าง ๆ ระหว่างสหรัฐและสหภาพยุโรป ในอดีต TPP เป็นการขยายความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจยุทธศาสตร์ภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement) ซึ่งประเทศบรูไน ชิลี นิวซีแลนด์และสิงคโปร์ลงนามในปี 2549 เริ่มตั้งแต่ปี 2551 มีประเทศอื่นเข้าร่วมการอภิปรายสำหรับความตกลงที่กว้างขึ้น ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น มาเลเซีย เม็กซิโก เปรู สหรัฐและเวียดนาม ทำให้มีจำนวนประเทศผู้เข้าร่วมการเจรจาสิบสองประเทศ ความตกลงการค้าปัจจุบันระหว่างประเทศผู้เข้าร่วม เช่น ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ จะลดบทบัญญัติเหล่านั้นซึ่งไม่ขัดต่อ TPP หรือกำหนดให้เปิดเสรีการค้าเกินกว่า TPP ชาติผู้เข้าร่วมมุ่งสำเร็จการเจรจาในปี 2555 แต่ประเด็นที่มีข้อพิพาทอย่างเกษตรกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาและการบริการและการลงทุนทำให้การเจรจายืดเยื้อ สุดท้ายชาติต่าง ๆ บรรลุความตกลงเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 การนำความตกลงฯ ไปปฏิบัติเป็นเป้าหมายวาระการค้าของรัฐบาลโอบามาในสหรัฐ วันที่ 5 ตุลาคม 2558 นายกรัฐมนตรีแคนาดา สตีเฟน ฮาร์เปอร์ คาดหมายว่า "ลายมือชื่อบนข้อความฉบับสมบูรณ์และตกลงเร็วในปีใหม่ และให้สัตยาบันในอีกสองปีถัดไป" มีการเผยแพร่ฉบับข้อความของสนธิสัญญา "ภายใต้การทบทวนทางกฎหมาย (...) เพื่อความแม่น ความกระจ่างและความสอดคล้อง" ต่อสาธารณะเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 วันเดียวกับที่ประธานาธิบดีโอบามาแจ้งรัฐสภาว่าเขาเจตนาลงนาม มีวิชาชีพสุขภาพโลก (global health) นักกิจกรรมเสรีภาพอินเทอร์เน็ต นักสิ่งแวดล้อม สหภาพแรงงาน กลุ่มผลประโยชน์และข้าราชการจากการเลือกตั้งจำนวนหนึ่งวิจารณ์และประท้วงต่อสนธิสัญญานี้ ส่วนใหญ่เพราะการเจรจาทางลับ ขอบข่ายกว้างขวางของความตกลงและข้อความซึ่งมีการโต้เถียงที่รั่วต่อสาธารณะ การลงนาม TPP ในออกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 มีการประท้วงสาธารณะเป็นวงกว้างในประเทศนิวซีแลนด์ พรรคฝ่ายค้านทุกพรรคและพรรครัฐบาลหนึ่งพรรค (พรรคเมารี พรรคชาตินิยมฝ่ายขวา) ในรัฐสภานิวซีแลนด์ประกาศคัดค้าน TPP และกล่าวในการชุมนุมประท้วงในกรุงเวลลิงตัน เมืองหลวงของประเทศ ในวันที่ลงนาม. วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สหภาพยุโรปออกแลนด์ประเทศนิวซีแลนด์

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและสหภาพยุโรป · ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ออกแลนด์

ออกแลนด์, ประเทศนิวซีแลนด์ ออกแลนด์ (Auckland) ในภาษาเมารีออกแลนด์มีชื่อว่า Tamaki-Makau-Rau แปลว่า หญิงสาวที่มีผู้มาขอความรักถึง 100 คน เป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศนิวซีแลนด์ มีประชากรประมาณ 1,413,700 คน คิดเป็นร้อยละ 31 ของประเท.

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและออกแลนด์ · ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกและออกแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและประเทศนิวซีแลนด์ · ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก มี 66 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.80% = 3 / (13 + 66)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »