โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม vs. รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

วามตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม (Anti-Counterfeiting Trade Agreement) หรือเรียกโดยย่อว่า แอกตา (ACTA) เป็นความตกลงพหุภาคีอันมีวัตถุประสงค์เพื่อสถาปนามาตรฐานสากลสำหรับบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และมุ่งหวังจะสร้างกรอบกฎหมายระหว่างประเทศสำหรับขจัดสินค้าปลอม ยาเทียม และการละเมิดลิขสิทธิ์บนโลกออนไลน์ กับทั้งจะมีผลเป็นการสร้างองค์กรควบคุมองค์กรใหม่นอกเหนือไปจากที่มีอยู่แล้วคือองค์การค้าโลก องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก และสหประชาชาติ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ประเทศออสเตรเลีย ประเทศแคนาดา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศโมร็อกโก ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกาลงนามในความตกลงนี้ ครั้นเดือนมกราคม 2555 สหภาพยุโรปและรัฐสมาชิกอีกยี่สิบสองรายพร้อมใจกันลงนามตามลำดับ ยังให้มีผู้ลงนามแล้วสามสิบเอ็ดราย สนธิสัญญานี้จะมีผลใช้บังคับเมื่อมีผู้ลงนามให้สัตยาบันแล้วเป็นจำนวนหกราย ประเทศทั้งหลายทั้งที่สนับสนุนความตกลงนี้ก็ดี และที่กำลังเจรจาอยู่ก็ดี เชิดชูความตกลงว่าเป็น การตอบโต้ "การค้าสิ่งปลอมและการละเมิดงานที่ได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์อันทวีอัตราขึ้นทั่วทุกหัวระแหง" ขณะที่เหล่าผู้ต่อต้านว่า สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นปฏิปักษ์อย่างร้ายแรงต่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางดิจิทัลขั้นพื้นฐาน อันรวมถึงสิทธิในการแสดงออกและความเป็นส่วนตัวในการคมนาคม. รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สหประชาชาติ

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและสหประชาชาติ · รัฐสมาชิกสหภาพยุโรปและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป มี 99 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.87% = 1 / (16 + 99)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอมและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »