ความจริงและอุปมานิทัศน์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความจริงและอุปมานิทัศน์
ความจริง vs. อุปมานิทัศน์
วามจริง ถูกใช้อย่างสอดคล้องบ่อยครั้งกับข้อเท็จจริงและความเป็นจริงMerriam-Webster's Online Dictionary,, 2005 หรือความเที่ยงตรง ของต้นแบบ, มาตรฐาน หรือความคิด หลักปรัชญาตรงข้ามของความจริงคือความผิด ซึ่งสามารถใช้ในทางความหมายเชิงตรรกะ, รูปธรรม หรือจริยธรรมได้อย่างพ้องกัน แนวคิดของความจริงคืออภิปรายและถกเถียงในอรรถาธิบายหลากหลายประเด็น รวมถึงในเรื่องปรัชญาและศาสนา โดยกิจกรรมหลายอย่างของมนุษย์ใช้ความจริง เช่น วิทยาศาสตร์, นิติศาสตร์ และชีวิตประจำวัน หลากหลายทฤษฎีและมุมมองของความจริงยังคงถูกถกเถียงในหมู่นักปรัชญาและนักวิชาการ ภาษาและคำพูดคือสิ่งที่มนุษย์ใช้สื่อสารระหว่างกันและกัน และแนวคิดดังกล่าวเคยมองความจริงว่าเป็นเกณฑ์ของความจริง (criterion of truth) นอกจากนี้ยังมีคำถามมากมาย เช่น สิ่งใดถือเป็นความจริง, ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ว่าสิ่งใดจริงสิ่งใดไม่จริง และความจริงเป็นอัตวิสัยหรือรูปธรรม เป็นความสัมพันธ์หรือความสัมบูรณ์ หลายศาสนาพิจารณาการรอบรู้ความจริงทั้งหมดของสิ่งทั้งมวล (สัพพัญญู) ว่าเป็นลักษณะของเทวดาหรือความเหนือธรรมชาต. ''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความจริงและอุปมานิทัศน์
ความจริงและอุปมานิทัศน์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความจริงและอุปมานิทัศน์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความจริงและอุปมานิทัศน์
การเปรียบเทียบระหว่าง ความจริงและอุปมานิทัศน์
ความจริง มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ อุปมานิทัศน์ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 23)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความจริงและอุปมานิทัศน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: