ความคล้ายตนเองและเซตว่าง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความคล้ายตนเองและเซตว่าง
ความคล้ายตนเอง vs. เซตว่าง
้นโค้งคอช (Koch curve) มีคุณสมบัติคล้ายตนเองเมื่อขยายให้ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ความคล้ายตนเอง (self-similarity) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึงสิ่งใด ๆ ที่ตัวมันมีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายกับส่วนย่อย ๆ ของตัวมันเอง ของหลาย ๆ สิ่งบนโลกนี้ก็มีคุณสมบัติความคลายตนเอง เช่น ชายฝั่ง ซึ่งมีลักษณะเว้าเข้าและออก เมื่อขยายให้ใหญ่ขึ้นก็ยังปรากฏเส้นโค้งเว้าลักษณะเดียวกัน ความคล้ายตนเองเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของแฟร็กทัล. ัญลักษณ์แทนเซตว่าง เซตว่าง (empty set) ในทางคณิตศาสตร์ และที่เจาะจงกว่าคือทฤษฎีเซตหมายถึง เซตเพียงหนึ่งเดียวที่ไม่มีสมาชิก หรือเรียกได้ว่ามีสมาชิก 0 ตัว เซตว่างสามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ "∅" หรือ "\emptyset" ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากอักษร Ø ในภาษาเดนมาร์กและภาษานอร์เวย์ เสนอโดยกลุ่มของ Nicolas Bourbaki (โดยเฉพาะ André Weil) ในปี ค.ศ. 1939 สัญกรณ์แบบอื่นที่นิยมใช้ตัวอย่างเช่น "", "Λ" และ "0" ทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์ (axiomatic set theory) ได้ตั้งสมมติฐานไว้ว่า เซตว่างจำเป็นต้องมีขึ้นเนื่องจากสัจพจน์ของเซตว่าง (axiom of empty set) บางครั้งเซตว่างก็ถูกเรียกว่าเป็น เซตนัลล์ (null set) แต่เซตนัลล์มีความหมายอื่นในเรื่องของทฤษฎีเมเชอร์ ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงในการใช้คำนี้.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความคล้ายตนเองและเซตว่าง
ความคล้ายตนเองและเซตว่าง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความคล้ายตนเองและเซตว่าง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความคล้ายตนเองและเซตว่าง
การเปรียบเทียบระหว่าง ความคล้ายตนเองและเซตว่าง
ความคล้ายตนเอง มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ เซตว่าง มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 10)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความคล้ายตนเองและเซตว่าง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: