ความกระหายและออกซิเจน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความกระหายและออกซิเจน
ความกระหาย vs. ออกซิเจน
วามกระหาย (thirst) คือ ความอยากของไหล ส่งผลให้เกิดสัญชาตญาณพื้นฐานของสัตว์ให้ดื่ม เป็นกลไกสำคัญเกี่ยวข้องกับดุลของไหล ความกระหายเกิดขึ้นจากการขาดของไหลหรือมีความเข้มข้นของออสโมไลต์ (osmolite) บางชนิดเพิ่มขึ้น เช่น เกลือ หากปริมาตรน้ำของร่างกายลดต่ำกว่าขีดกั้นจำเพาะหรือความเข้มข้นของออสโมไลต์สูงเกินไป สมองจะส่งสัญญาณความกระหาย ภาวะขาดน้ำต่อเนื่องสามารถก่อปัญหาได้หลายอย่าง แต่มักสัมพันธ์กับปัญหาไตและปัญหาทางประสาทวิทยา เช่น ชัก มากที่สุด อาการกระหายน้ำมากเรื้อรัง ร่วมกับภาวะปัสสาวะมาก อาจเป็นสิ่งบ่งชี้เบาหวานหรือเบาจืด มีตัวรับและระบบอื่นในร่างกายซึ่งตรวจหาปริมาตรที่ลดลงหรือความเข้มข้นของออสโมไลต์ที่เพิ่มขึ้น พวกมันส่งสัญญาณไประบบประสาทส่วนกลางแล้วจะมีการประมวลผลกลางตามมา ฉะนั้น บางแหล่งจึงแยก "ความกระหายนอกเซลล์" จาก "ความกระหายในเซลล์"Carlson, N. R. (2005). ออกซิเจน (Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพื.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความกระหายและออกซิเจน
ความกระหายและออกซิเจน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความกระหายและออกซิเจน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความกระหายและออกซิเจน
การเปรียบเทียบระหว่าง ความกระหายและออกซิเจน
ความกระหาย มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ ออกซิเจน มี 27 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (10 + 27)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความกระหายและออกซิเจน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: