คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
คริสต์ทศวรรษ 1970 vs. อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
.. อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา (Electric Light Orchestra) หรือ อีแอลโอ (ELO) เป็นกลุ่มดนตรีซิมโฟนิกร็อกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งโดยรอย วูดและเจฟฟ์ ลินน์ เพื่อสร้างผลงานเพลงร็อกผสมผสานกับเครื่องดนตรีคลาสสิกคือเชลโล ไวโอลิน และเครื่องเป่า ก่อนที่รอย วูดจะขัดแย้งกับเจฟฟ์ ลินน์จากความคิดเห็นแนวดนตรีไม่ตรงกัน ทำให้รอย วูดออกไปตั้งคณะวิซซาร์ด (Wizzard) เล่นแนวคลาสสิกร็อกและทำให้เจฟฟ์ ลินน์ยึด "อีแอลโอ" โดยเบ็ดเสร็จตั้งแต่ชุด ELO 2 ในปี 1973 โดยเจฟฟ์ ลินน์ทั้งแต่งเพลง เล่นกีตาร์ เปียโน เรียบเรียงและร้องเอง รวมถึงการเป็นโปรดิวเซอร์ ELO ได้รับอิทธิพลมาจากผลงานของเดอะบีตเทิลส์ โดยเจฟฟ์ ลินน์ ตั้งใจจะให้อีแอลโอทำดนตรี "สานต่อจากแนวทางของเดอะบีตเทิลส์" จนได้รับความนิยมในประเทศอังกฤษด้วยเพลงเก่าของ Chuck Berry (Roll over Bethoven) (1972) ก่อนจะเริ่มได้รับความนิยมตามมาในสหรัฐอเมริกาจากเพลง "Show down" (On the Third Day) อีแอลโอประสบความสำเร็จสูงสุดช่วงกลางทศวรรษ 1970 จนถึงปี 1980 มีผลงานติดอันดับท็อป 40 ในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษทั้งสิ้น 27 ซิงเกิล ทั้งยังถือสถิติเป็นศิลปินที่มีซิงเกิลติดอันดับฮอต 100 และ ทอป 40 มากที่สุด โดยไม่มีซิงเกิลใดเคยขึ้นถึงอันดับหนึ่งเลย ในยุคหลังปี 1980 ก่อนการสลายวง เจฟฟ์ ลินน์พยายามตัดเครื่องดนตรีซิมโฟนิก ซึ่งเป็นเครื่องสายออกจากงานของอีแอลโอและนำเครื่องดนตรีซินทีไซเซอร์มาแทนที่เพื่อทดลองงานรูปแบบป็อปร็อกและดิสโก จนเหลือสมาชิกในวงเพียง 4 คน โดยผลงานชุดสุดท้ายก่อนสลายวงในปี 1986 ได้แก่อัลบั้ม Balance of Power หลังจากนั้น 15 ปีต่อมา เจฟฟ์ ลินน์ กลับมาทำอัลบั้ม "Zoom" (2001) ซึ่งมีแนวเพลงกลับไปเหมือนยุคแรกของวง โดยมีสมาชิกดั้งเดิมคือ Richard Tandy มือคีย์บอร์ดและมีศิลปินรับเชิญเป็นอดีตสมาชิกเดอะบีตเทิลส์ ได้แก่ จอร์จ แฮร์ริสันและริงโก สตาร์ ในปี 2015 เจฟฟ์ ลินน์ได้ออกอัลบัม "Alone in the Universe" โดยใช้ชื่อวงว่า Jeff Lynne's ELO ชื่อ "อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา" เป็นการเล่นคำระหว่าง Electric Light หรือหลอดนีออนเรืองแสง ที่ปรากฏบนภาพปกอัลบัมและโลโก้ของวงในยุคแรก เลียนแบบหลอดไฟตกแต่งตู้เพลงยี่ห้อวูร์ลิทเซอร์ (Wurlitzer jukebox) รุ่นปี 1946 ผสมกับคำว่า Light Orcherstra หมายถึงวงออร์เคสตราขนาดเล็กที่ใช้ไวโอลินและเชลโลเป็นเครื่องดนตรี.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
การเปรียบเทียบระหว่าง คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา
คริสต์ทศวรรษ 1970 มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ อิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 14)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คริสต์ทศวรรษ 1970และอิเล็กทริกไลต์ออร์เคสตรา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: