เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คริสตวิทยาและพระวรสารนักบุญมัทธิว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คริสตวิทยาและพระวรสารนักบุญมัทธิว

คริสตวิทยา vs. พระวรสารนักบุญมัทธิว

ริสตวิทยา (Christology) เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและสถานะบุคคลของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารและบทจดหมายในพันธสัญญาใหม่Christology: A Biblical, Historical, and Systematic Study of Jesus by Gerald O'Collins 2009 ISBN 0-19-955787-X pages 1-3 โดยเฉพาะในแง่ที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าพระบิดา และการเป็นพระผู้ไถ่มนุษย์ให้ได้รับความรอด โดยมีแนวคิดของเปาโลอัครทูตเป็นหลักสำคัญของวิชามาตั้งแต่สมัยอัครทูตChrist in Christian Tradition: From the Apostolic Age to Chalcedon' by Aloys Grillmeier, John Bowden 1975 ISBN 0-664-22301-X pages 15-19 คำว่า Christology มาจากภาษาΧριστός คริสตส หมายถึงพระคริสต์ และ -λογία โลเกีย แปลว่าคำอธิบาย Christology จึงหมายถึง. ระวรสารนักบุญมัทธิว (ศัพท์คาทอลิก) หรือ พระกิตติคุณมัทธิว (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Gospel of Matthew) เป็นหนังสือพระวรสารในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ เป็นหนึ่งในสี่ “พระวรสารในสารบบ” และเป็นหนึ่งในสาม “พระวรสารสหทรรศน์” แม้พระวรสารนักบุญมัทธิวไม่มีชื่อกำกับไว้ว่าใครเป็นผู้เขียน แต่ตั้งแต่คริสตชนตั้งแต่ศาสนาคริสต์ยุคแรกก็เชื่อกันสืบมาว่าเขียนโดยมัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร อัครทูต และคนเก็บภาษี หนังสือเล่มนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นก่อนที่กรุงเยรูซาเล็มจะพินาศในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คริสตวิทยาและพระวรสารนักบุญมัทธิว

คริสตวิทยาและพระวรสารนักบุญมัทธิว มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระวรสาร

พระวรสาร

ระวรสาร (โรมันคาทอลิก) หรือพระกิตติคุณ (โปรเตสแตนต์) (Gospels) เป็นหนังสือหมวดแรกในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ รู้จักในอีกนามหนึ่งว่า พระวรสารในสารบบ (Canonical gospels) เพราะเป็นพระวรสารที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการจากคริสตจักรให้รวมในสารบบคัมภีร์ไบเบิลได้ คำว่า “gospel” มาจากภาษาอังกฤษเก่า แปลว่า “ข่าวดี” (คัมภีร์ไบเบิลฉบับภาษาไทยของชาวโปรเตสแตนต์แปลว่า "ข่าวประเสริฐ") มีนัยความหมายในคติของศาสนาคริสต์ถึง "การประกาศข่าวดี" ว่าบัดนี้ พระยาห์เวห์ได้ทรงประทานพระบุตรของพระองค์มารับสภาพมนุษย์เป็นพระเยซูแล้ว เพื่อประทานความรอดแก่มวลมนุษย์ ให้พ้นจากบาปและความทุกข์ และกลับเข้าสนิทกับพระเจ้าเช่นเดิม สู่แผ่นดินสวรรค์ ตามคำพยากรณ์ของผู้เผยพระวจนะในพันธสัญญาเดิม พระวรสารในสารบบมีอยู่ 4 เล่ม ในคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ที่มีเนื้อหาโดยตรงเกี่ยวกับพระเยซู บรรยายถึงกำเนิด คำเทศนา การตรึงกางเขน และการคืนพระชนม์ ทั้ง 4 เล่มถูกตั้งชื่อตามชื่อผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้เขียน โดยเขียนขึ้นเมื่อระหว่าง ค.ศ. 65 ถึง ค.ศ. 100 ได้แก่ สามเล่มแรกเรียกว่าพระวรสารสหทรรศน์ เนื่องจากมีมุมมองในชีวิตของพระคริสต์ที่คล้ายกัน ขณะที่พระวรสารนักบุญยอห์น มีแง่มุมทางเทววิทยาและจิตวิญญาณที่ต่างออกไป.

คริสตวิทยาและพระวรสาร · พระวรสารและพระวรสารนักบุญมัทธิว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คริสตวิทยาและพระวรสารนักบุญมัทธิว

คริสตวิทยา มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระวรสารนักบุญมัทธิว มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.17% = 1 / (8 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คริสตวิทยาและพระวรสารนักบุญมัทธิว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: