โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและลัทธิประทับใจ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและลัทธิประทับใจ

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น vs. ลัทธิประทับใจ

มพ์โปสเตอร์โดยอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก ค.ศ. 1892 คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น (Japonism หรือ Japonisme) เดิมมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในภาษาอังกฤษด้วย เป็นคำที่หมายถึงศิลปะตะวันตกที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะของญี่ปุ่น คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกโดยชูลส์ แคลตีในหนังสือ L'Art Français en 1872 (ศิลปะฝรั่งเศสของปี ค.ศ. 1872) ที่ตีพิมพ์ในปีเดียวกันColta F. Ives, "The Great Wave: The Influence of Japanese Woodcuts on French Prints", 1974, The Metropolitan Museum of Art, ISBN 0-87099-098-5 งานที่ถ่ายทอดจากพื้นฐานของศิลปะญี่ปุ่นโดยตรงในศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะงานที่สร้างโดยศิลปินชาวฝรั่งเศสเรียกว่า "japonesque" ("แบบญี่ปุ่น") ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1860 ภาพพิมพ์แกะไม้ภาพอุกิโยะ (ukiyo-e) ของญี่ปุ่นกลายเป็นแหล่งของแรงบันดาลใจสำหรับจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ชาวยุโรปในฝรั่งเศสและในประเทศตะวันตกและในที่สุดก็รวมไปถึงจิตรกรนวศิลป์และบาศกนิยม (cubism) ต่อมา สิ่งที่กระทบความรู้สึกของศิลปินของศิลปะญี่ปุ่นคือการละการใช้ทัศนมิติและเงา, การใช้สีจัดในบริเวณภาพที่ราบ, เสรีภาพในการจัดองค์ประกอบในการวางหัวเรื่องของภาพจากศูนย์กลางของภาพ ที่ส่วนใหญ่อยู่ในมุมทแยงด้านต่ำจากฉากหลัง. ''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและลัทธิประทับใจ

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและลัทธิประทับใจ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กามีย์ ปีซาโรปารีสปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์แมรี เคแซตแอดการ์ เดอกาโกลด มอแน

กามีย์ ปีซาโร

“ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1898 “Avenue de l'Opera” ค.ศ. 1898 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กามีย์ ปีซาโร (Camille Pissarro) หรือ ฌากอบ-อาบราอาม-กามีย์ ปีซาโร (Jacob-Abraham-Camille Pissarro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 - 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ความสำคัญของกามีย์ ปีซาโรมิใช่เพียงการเขียนภาพแบบอยู่ที่อิมเพรสชันนิสม์แต่ยังเป็นศิลปินคนสำคัญของขบวนการที่รวมทั้งปอล เซซาน และปอล โกแก็ง.

กามีย์ ปีซาโรและคตินิยมศิลปะญี่ปุ่น · กามีย์ ปีซาโรและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและปารีส · ปารีสและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์

อกุสต์ เรอนัวร์ ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ (Pierre-Auguste Renoir; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2383 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2462) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศส เป็นที่รู้กันว่าเขาคือหนึ่งในศิลปินในกลุ่มอิมเพรสชันนิสม์ที่ให้ความสำคัญกับการใช้สีสันที่สะท้อนอารมณ์ความรู้สึกของศิลปินในแบบฉับพลัน งานของเรอนัวร์ ส่วนมากจะเน้นที่สวยงาม อ่อนหวานของธรรมชาติและผู้หญิง ภาพของเรอนัวร์ยังสะท้อนวิถีชีวิตและวิพากษ์ระบบศักดินาของฝรั่งเศสช่วงปลายศตวรรษที่ 18 บิดาเป็นช่างตัดเสื้อ เป็นบุตรคนที่ 6 จาก 7 คน ต่อมาในอายุ 23 ปี เรอนัวร์สมัครใจที่จะเป็นนักวาดภาพอิสระ เรอนัวร์เป็นจิตรกรที่ประสบความลำบากอยู่มากมาย เพราะเรอนัวร์เป็นผู้ที่ชอบวาดภาพเปลือย ในช่วง 1890 เป็นต้นไป เรอนัวร์จะวาดภาพเปลือยอย่างอิสระ ในช่วงที่เป็นไขข้ออักเสบ ถึงจะนั่งรถเข็นหรือเอาพู่กันมาติดมือข้างแข็งไว้ก็ตาม เขาก็ให้คนอื่นระบายภาพให้ คำว่า "ดอกไม้" คือคำสุดท้ายที่เรอนัวร์ได้พูดก่อนที่จะเสียชีวิตในขณะที่เขาจัดแบบที่เขาเขียน เรอนัวร์ได้เสียชีวิตอย่างสงบในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2462.

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ · ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์และลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและแมรี เคแซต · ลัทธิประทับใจและแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

แอดการ์ เดอกา

“ภาพเหมือน” (ราวปี ค.ศ. 1854) โดย แอดการ์ เดอกา แอดการ์ เดอกา (Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 - 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่ากอร์ดอนและฟอร์จ,..

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและแอดการ์ เดอกา · ลัทธิประทับใจและแอดการ์ เดอกา · ดูเพิ่มเติม »

โกลด มอแน

กลด มอแน (Claude Monet) หรือ อ็อสการ์-โกลด มอแน (Oscar-Claude Monet; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1926) giverny.org.

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและโกลด มอแน · ลัทธิประทับใจและโกลด มอแน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและลัทธิประทับใจ

คตินิยมศิลปะญี่ปุ่น มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลัทธิประทับใจ มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 10.34% = 6 / (33 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คตินิยมศิลปะญี่ปุ่นและลัทธิประทับใจ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »