โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์และโรงพยาบาลตำรวจ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์และโรงพยาบาลตำรวจ

คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์ vs. โรงพยาบาลตำรวจ

"คดีระหว่างพนักงานอัยการ โจทก์ กับพิมล กาฬสีห์ จำเลยที่ 1 และนภาพันธ์ กาฬสีห์ จำเลยที่ 2 เรื่อง ความผิดเกี่ยวกับเพศ" หรือเรียกโดยย่อว่า "คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์" เป็นคดีอาญาในประเทศไทย ซึ่ง พนักงานอัยการ กรมอัยการ (“โจทก์”) ฟ้อง พิมล กาฬสีห์ เป็นจำเลยที่ 1 (“จำเลยที่ 1”) และ นภาพันธ์ กาฬสีห์ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น อรพรรณ กาฬสีห์) ภริยาจำเลยที่ 1 เป็นจำเลยที่ 2 (“จำเลยที่ 2”) กล่าวหาว่าจำเลยทั้งสองเป็นตัวการร่วมกันกระทำความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราและกระทำอนาจาร เพ็ชร์ ทิวาพัฒน์ ผู้เสียหาย (“ผู้เสียหาย”) ซึ่งเป็นสาวใช้ของจำเลยทั้งสอง โดยพฤติการณ์ที่จำเลยที่ 2 ล่อลวงผู้เสียหายมาเพื่อสนองความใคร่ของจำเลยที่ 1 และในระหว่างที่จำเลยที่ 1 ข่มขืนกระทำชำเราผู้เสียหายจนบรรลุความเสียวสุดยอดทางเพศถึงห้าครั้ง จำเลยที่ 2 ได้กระทำการต่าง ๆ เพื่ออำนวยการข่มขืนนั้นด้วย โจทก์ขอให้ศาลพิพากษาลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา (“ป.อ.”) คดีนี้ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว พิพากษาว่า จำเลยทั้งสองมีความผิดตามโจทก์ฟ้อง และลงโทษจำเลยที่ 1 ให้จำคุกห้าปี หนึ่งเดือน ส่วนจำเลยที่ 2 ให้จำคุกสามปี จำเลยทั้งสองอุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์ไม่เชื่อว่าผู้เสียหายจะถูกจำเลยกระทำชำเราจริง หากเห็นว่าผู้เสียหายสมัครใจ จึงให้ยกคำฟ้องของโจทก์ โจทก์จึงฎีกา และจำเลยที่ 2 โต้แย้งว่า ตนเป็นหญิง ไม่สามารถเป็นตัวการกระทำความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราหญิงด้วยกันได้ ข้อโต้แย้งนี้ได้นำขึ้นสู่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ครั้งที่ 8/2510 ซึ่งมีมติว่า หญิงก็เป็นตัวการข่มขืนหญิงได้ และศาลฎีกาพิเคราะห์พฤติการณ์ต่าง ๆ ประกอบผลตรวจทางการแพทย์แล้ว เห็นว่าผู้เสียหายถูกข่มขืนกระทำชำเราตามคำฟ้อง จึงกลับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในที่สุด คดีนี้เป็นที่กล่าวขวัญมากในช่วงปีที่เกิด เนื่องจากจำเลยที่ 1 เป็นนักเขียนการ์ตูนมีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จอย่างสูง มีนามปากกว่า "ตุ๊กตา" คดีนี้จึงรู้จักกันโดยทั่วไปว่า "คดีตุ๊กตา"บุญร่วม เทียมจันทร์, 2529: 300-306. รงพยาบาลตำรวจ (Police General Hospital) โรงพยาบาลของรัฐ ในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีฐานะเทียบเท่ากับหน่วยงานตำรวจระดับกองบัญชาการ เดิมสังกัดสำนักงานแพทย์ใหญ่ ตั้งอยู่ที่ 492/1 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์และโรงพยาบาลตำรวจ

คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์และโรงพยาบาลตำรวจ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและคดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์ · กรุงเทพมหานครและโรงพยาบาลตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์และโรงพยาบาลตำรวจ

คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์ มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรงพยาบาลตำรวจ มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.38% = 1 / (21 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คดีระหว่างพนักงานอัยการ กับพิมล กาฬสีห์ และนภาพันธ์ กาฬสีห์และโรงพยาบาลตำรวจ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »