คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง
คณิตศาสตร์ vs. ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง
ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ. วะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง (gravitational singularity) คือภาวะซึ่งเกิดขึ้นเมื่อลักษณะดาราศาสตร์ฟิสิกส์ที่มีพื้นฐานมาจากสัมพัทธภาพทั่วไป (general relativity) โดยมีเหตุมาจากการคาดการณ์พฤติกรรมเชิงอายุรการ (pathological bahavior) ของอวกาศ-เวลา (space-time) เช่นความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีค่าเป็นอนันต์ (infinite) นิยามนี้มีความคล้ายคลึงกับภาวะเอกฐานเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical singularity) เป็นอย่างมากในเชิงที่ว่าภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อสมการแสดงภาวะเอกฐานเชิงคณิตศาสตร์ ข้อสังเกตของภาวะเอกฐานคือ ณ จุดหนึ่งเมื่อความโค้งของอวกาศ-เวลาเกิดการระเบิดขึ้น ล้วนเป็นช่วงที่การอธิบายเป็นการจินตนาการเสียส่วนมาก อย่างไรก็ตามภาวะเอกฐานนั้นสามารถเกิดขึ้นจริงได้แม้ว่าความโค้งของอวกาศ-เวลายังคงไม่เป็นอนันต์อยู่ก็ตาม ในทางปฏิบัตินั้น อวกาศ-เวลาจะเป็นเอกฐานได้ก็ต่อเมื่อ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง
คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง
การเปรียบเทียบระหว่าง คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง
คณิตศาสตร์ มี 99 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (99 + 7)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณิตศาสตร์และภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: