โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล vs. มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้. มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล มี 21 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2507พ.ศ. 2512พ.ศ. 2538พ.ศ. 2548พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2558พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกรุงเทพมหานครมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์รัชตะ รัชตะนาวินสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะจังหวัดสมุทรปราการคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลโรงพยาบาลรามาธิบดี

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2507 · พ.ศ. 2507และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2512 · พ.ศ. 2512และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2538 · พ.ศ. 2538และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2548 · พ.ศ. 2548และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2553 · พ.ศ. 2553และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2554 · พ.ศ. 2554และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2558 · พ.ศ. 2558และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · กรุงเทพมหานครและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นองค์กรวิจัยเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย จอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในปี พ.ศ. 2456 มีการให้การสนับสนุนการวิจัยในด้านการแพทย์ทั่วโลกRockfound.org, มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์เป็นมูลนิธิที่มุ่งเน้นเรื่องแหล่งพลังงานทั้งห้า ได้แก่ 1.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ · มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัชตะ รัชตะนาวิน

ตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน (13 สิงหาคม พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและรัชตะ รัชตะนาวิน · มหาวิทยาลัยมหิดลและรัชตะ รัชตะนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 10 คนของนายโฆสิต เวชชาชีวะ น้องชายของพระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีพี่ชายคือนายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ที่เป็นบิดาของนายสุรนันท์ เวชชาชีวะ นักการเมืองพรรคไทยรักไทย และเป็นพี่ชายของนายวิทยา เวชชาชีวะ ที่เป็นอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศเช่นกัน ระหว่างเป็นคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล น.อรรถสิทธิ์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการศูนย์วินิจฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา (AIMC) เป็นโครงการนำร่องของการบริหารงานภายใต้การกำกับดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ มีระบบบริหารจัดการแบบพิเศษ โดยมูลนิธิรามาธิบดี เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูง.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ · มหาวิทยาลัยมหิดลและอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและจังหวัดสมุทรปราการ · จังหวัดสมุทรปราการและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในอดีตมหาวิทยาลัยมหิดลเคยมีการเรียนการสอนทางสัตวแพทยศาสตร์ในช่วงที่ยังคงเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์อยู่ โดยได้รับโอนแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์มาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(ปี พ.ศ. 2486) เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ต่อมาทางมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอน คณะสัตวแพทยศาสตร์ ไปสังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(ปี พ.ศ. 2497) จึงเป็นการสิ้นสุดการเรียนการสอนทางสัตวแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยมหิดลช่วงหนึ่ง หลังจากนั้นทางมหาวิทยาลัยมหิดลจึงได้ก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่งในเวลาต่อมา(ปี พ.ศ. 2540).

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีชื่อว่า คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2511 เพื่อเพิ่มจำนวนทันตแพทย์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในขณะนั้น คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท เลขที่ 6 ถนนโยธี เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์คณะที่ 2 โดยขยายมาจากคณะทันตแพทยศาสตร์คณะแรกที่ถนนอังรีดูนังต์ ต่อมาในวันที่ 2 มีนาคม 2512 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหิดล อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยมหิดลแทน ชื่อเดิมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ชื่อของ คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล..

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ในยุคของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่า คณะเภสัชศาสตร์ พญาไท มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เนื่องจากในเวลานั้นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอนย้ายสังกัดคณะเภสัชศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาก่อนหน้าแล้ว (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี..

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลรามาธิบดี

รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานหนึ่งในระดับภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นสถานพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐ ตั้งอยู่เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีเนื้อที่ทั้งหมด 38 ไร่ มีอาคารรวม 20 อาคาร เริ่มเปิดดำเนินการรักษาคนไข้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงพยาบาลรามาธิบดี · มหาวิทยาลัยมหิดลและโรงพยาบาลรามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาวิทยาลัยมหิดล มี 206 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 21, ดัชนี Jaccard คือ 8.54% = 21 / (40 + 206)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »