สารบัญ
32 ความสัมพันธ์: บาทหลวงชีวิตอารามวาสีการอธิษฐานในศาสนาคริสต์การอดอาหารการประกาศข่าวดีมิชชันนารีสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5ออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีออดงแห่งกลูว์นีอารามอธิการอารามจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์คัมภีร์ไบเบิลคณะนักบวชคาทอลิกคณะเบเนดิกตินซูว์เฌแห่งแซ็ง-เดอนีนักบุญบีดนักพรตแอบบีย์โบสถ์คริสต์เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย
บาทหลวง
ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.
ชีวิตอารามวาสี
อารามเซนต์แคเธอริน เขาไซนายในอียิปต์ ก่อตั้งราวระหว่าง ค.ศ. 527 ถึง ค.ศ. 565 ชีวิตอารามวาสีสมชัย พิทยาพงษ์พร, บาทหลวง, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 27 (monasticism) มาจากภาษากรีก “μοναχός” - “monachos” ที่มีรากมาจากคำว่า “monos” ที่แปลว่า “สันโดษ” หรือ “ผู้เดียว” หมายถึงวิถีชีวิตทางศาสนาที่นักบวชเน้นสละชีวิตทางโลกเพื่ออุทิศตนอย่างเต็มตัวในทางธรรม คำนี้ที่มาจากภาษากรีกโบราณและอาจเกี่ยวกับภิกษุซึ่งเป็นนักพรตในพุทธศาสนา ในคริสต์ศาสนา บุรุษที่ใช้ชีวิตอารามวาสีเรียกว่านักพรต ถ้าเป็นหญิงก็เรียกว่านักพรตหญิง นักพรตทั้งชายและหญิงจะเรียกโดยรวมว่าอารามิกชน (monastics) ศาสนาอื่นต่างก็มีชีวิตอารามวาสีเป็นของตนเองโดยเฉพาะในศาสนาพุทธ และรวมทั้งลัทธิเต๋า ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน แต่รายละเอียดของแต่ละระบบของแต่ละศาสนาหรือแต่ละนิกายก็แตกต่างจากกันมาก.
ดู คณะเบเนดิกตินและชีวิตอารามวาสี
การอธิษฐานในศาสนาคริสต์
มารีย์ชาวมักดาลากำลังอธิษฐาน วาดโดย Ary Scheffer (1795–1858). การอธิษฐาน (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ การภาวนา (ศัพท์คาทอลิก) ในศาสนาคริสต์ (Christian prayer) หมายถึง ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ตั้งจิตปรารถนา ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ดู คณะเบเนดิกตินและการอธิษฐานในศาสนาคริสต์
การอดอาหาร
การอดอาหาร (fasting) หมายถึง พฤติการณ์การละเว้นจากอาหาร เครื่องดื่ม หรือทั้งอาหารและเครื่องดื่มบางส่วนหรือทั้งหมด เป็นระยะเวลาหนึ่ง การอดแบบสมบูรณ์ (absolute fast) ตามปกตินิยามว่า เป็นวิรัติจากอาหารและของเหลวเป็นระยะเวลาตามที่กำหนด โดยปกติมักเป็นหนึ่งวัน หรืออาจนานได้หลายวัน การอดอาหารแบบอื่นอาจเป็นเพียงการจำกัดบางส่วน คือ เฉพาะอาหารหรือสสารชนิดใดชนิดหนึ่งอย่างเจาะจง การอดอาหารอาจยังมีการเว้นระยะในธรรมชาติ ในบริบททางสรีรวิทยา การอดอาหารอาจหมายถึง.
การประกาศข่าวดี
การประกาศข่าวดี (ศัพท์คาทอลิก) หรือ การประกาศข่าวประเสริฐ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Evangelism) คือการเผยแพร่พระวรสารหรือประกาศข่าวดีตามความเชื่อของคริสต์ศาสนิกชนว่าพระเยซูเป็นพระเจ้าผู้มารับสภาพมนุษย์และถูกตรึงกางเขนจนสิ้นพระชนม์ เพื่อไถ่มนุษย์ผู้เชื่อจากบาป หลังจากนั้น 3 วัน ก็ทรงคืนพระชนม์แล้วเสด็จขึ้นสวรรค์ คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าผู้เชื่อข่าวดีนี้จะถูกไถ่จากบาปทันทีและได้ขึ้นสวรรค์หลังจากเสียชีวิต จนถึงการพิพากษาครั้งสุดท้ายก็จะได้รับบำเหน็จจากพระเจ้า การประกาศข่าวดีถือเป็นพันธกิจสำคัญที่พระเยซูฝากไว้แก่สาวกของพระองค์ก่อนจะเสด็จขึ้นสวรรค์ ดังปรากฏในพระวรสารนักบุญมัทธิวว่า "ท่านทั้งหลายจงออกไปและนำชนทุกชาติมาเป็นสาวกของเรา จงบัพติศมาพวกเขาในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" ผู้อุทิศตนทำงานประกาศข่าวดีเรียกว่า ผู้ประกาศข่าวดี (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ ผู้ประกาศข่าวประเสริฐ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Evangelist).
ดู คณะเบเนดิกตินและการประกาศข่าวดี
มิชชันนารี
มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).
สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13
สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13 (Leo XIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1878 ถึง ค.ศ. 1903 ลีโอที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13
สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3 (Victor III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1086 ถึง ค.ศ. 1087 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1020 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 วิกเตอร์ที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นคัมปาเนีย.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาวิกเตอร์ที่ 3
สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 (Sylvester II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 999 ถึง ค.ศ. 1003.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2
สมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปาสชาลที่ 2 (อังกฤษ: Paschal II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1099 ถึง ค.ศ. 1118 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 11 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปาสชาลที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาปาสคาลที่ 2
สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7
มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 (Pius VII) มีพระนามเดิมว่า บาร์นาบา นิกโกเลาะ มาเรีย ลุยจี กีอารามอนตี (Barnaba Niccolò Maria Luigi Chiaramonti)ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7
สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1
มเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1 หรือ นักบุญเกรกอรีผู้ยิ่งใหญ่ (Gregory I หรือ Saint Gregory I the Great) ประสูติราวปึ ค.ศ. 540 และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 1
สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16
สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16 (อังกฤษ: Gregory XVI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1831 ถึง ค.ศ. 1846 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 16
สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 (Gregory VII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1073 ถึง ค.ศ. 1085 เกิดในเมืองทัสคานี่ ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา วันที่ 22 เมษายน..1073 มรณะวันที่ 25 พฤษภาคม..1085 พระองค์ทรงเรียกประชุมสังคายนาออกโองการว่า “พระสันตะปาปาเท่านั้น ที่เป็นสากล ไม่มีผู้ใดอาจตัดสินพระองค์ได้”.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7
สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5 (Urban V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1362 ถึง ค.ศ. 1370 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5
สมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 2
สมเด็จพระสันตะปาปาเกลาซิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Gelasius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1118 ถึง ค.ศ. 1119 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1060 กเลาซิอุสที่ 2 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเจลาซีอุสที่ 2
สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 6 (Clement VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1342 ถึง ค.ศ. 1352 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6
สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5 (อังกฤษ: Celestine V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาในปี ค.ศ. 1294 พระองค์ทรงเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์แรกที่สละตำแหน่งพระสันตะปาปา หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและสมเด็จพระสันตะปาปาเซเลสทีนที่ 5
ออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี
นักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี (Augustine of Canterbury) (ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6–26 พฤษภาคม ค.ศ. 604) เป็นนักพรตโรมันคาทอลิกคณะเบเนดิกติน ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีองค์แรกเมื่อปี ค.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรี
ออดงแห่งกลูว์นี
นักบุญออดงแห่งกลูว์นี (Odon de Cluny, Odo of Cluny) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิก อธิการอารามกลูว์นีองค์ที่สอง นักบุญออดงมีบทบาทในการปฏิรูปชีวิตอารามวาสีแบบศาสนาคริสต์สำนักกลูว์นีในประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ออดงผู้เป็นบุตรของลอร์ดเจ้าที่ดินแห่ง Deols ไม่ไกลจากเลอม็องในประเทศฝรั่งเศสปัจจุบัน ได้รับการศึกษาเบื้องต้นที่สำนักของวิลเลียมที่ 1 ดยุกแห่งอากีแตน และต่อมากับเรอมี โดแซร์ ที่ปารีส ราวปี..
ดู คณะเบเนดิกตินและออดงแห่งกลูว์นี
อาราม
อาราม (monastery) คือสิ่งก่อสร้างหรือกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ใช้เป็นที่พักอาศัยและที่ทำงานของนักพรต ซึ่งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หรืออยู่โดดเดี่ยว เช่น ฤๅษี (hermit) ในทางตะวันตก (คริสต์ศาสนา) “อาราม” มาจากภาษาอังกฤษคำว่า “Monastery” ที่มีที่มาจากภาษากรีก “μοναστήριον” - “monasterios” (จากคำว่า “μονάζειν'” - “monazein” ที่แปลว่าอยู่ตามลำพัง) คำว่า “monastērion” ใช้เป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ในบทที่สามของหนังสือ “On The Contemplative Life” เขียนโดยนักปรัชญาชาวยิวชื่อไฟโล ศาสนาและปรัชญาต่าง ๆ ในโลกล้วนมีประเพณีการใช้ชีวิตอารามวาสีที่นักพรตหรือกลุ่มนักพรตที่มีความตั้งใจแน่วแน่ในการใช้ชีวิตเพื่อศาสนามารวมตัวกันเป็นชุมชน และก่อสร้างศาสนสถานและที่พำนักอาศัยที่แยกจากชุมชนของคฤหัสถ์ บริเวณที่เรียกว่าอารามปรากฏในหลายศาสนา เช่น อารามหรือวัดใน พุทธศาสนา คริสต์ศาสนา รวมไปถึงลัทธิขงจื๊อด้วย ในศาสนาเกือบทุกศาสนาชีวิตภายในอารามจะปกครองโดยกฎที่วางขึ้นโดยเฉพาะสำหรับชุมชนของตนโดยเฉพาะ เช่น กฎการสวดมนต์และเวลาสวด, กฎการใช้ชีวิต และอื่น ๆ เช่นกฎว่าด้วยเพศของสมาชิก หรือกฎที่ห้ามการมีภรรยา หรือการห้ามมีสมบัติเป็นของตนเองเป็นต้น นอกจากนั้นกฎที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอารามกับอารามอื่นในกลุ่มเดียวกันหรือนอกกลุ่ม หรือกับชุมชนรอบข้างก็จะแตกต่างกันออกไป บางอารามก็เน้นการอยู่ร่วมกับชุมชนรอบข้างเช่นในการให้การศึกษาหรือบริการการรักษาพยาบาลหรือการสอนศาสนา แต่บางอารามก็เน้นการใช้ชีวิตที่แยกกันอย่างเด็ดขาดจากชุมชน.
อธิการอาราม
อธิการอาราม (abbot) เป็นสมณศักดิ์สำหรับนักพรตที่เป็นอธิการของอาราม พบในหลายศาสนารวมทั้งศาสนาคริสต์ ถ้าเป็นนักพรตหญิงเรียกว่าอธิการิณีอาราม ส่วนอธิการอารามในศาสนาพุทธเรียกว่า "เจ้าอาวาส" หรือ "สมภาร" ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า abbot ซึ่งมาจากภาษาแอราเมอิก ܐܒܐ/אבא (อับบา) แปลว่า คุณพ่อ.
ดู คณะเบเนดิกตินและอธิการอาราม
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Henry II, Holy Roman Emperor) หรือนักบุญไฮน์ริชคณะเบเนดิกติน (Saint Henry, Obl.S.B.) (6 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
คัมภีร์ไบเบิล
ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.
ดู คณะเบเนดิกตินและคัมภีร์ไบเบิล
คณะนักบวชคาทอลิก
ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก คณะนักบวช หรือ สถาบันนักบวช (religious institute) เป็นสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วประเภทหนึ่ง สมาชิกประกอบด้วยชาวคาทอลิกที่สละชีวิตทางโลกมาถือคำปฏิญาณของนักบวชตลอดชีวิต เพื่ออุทิศตนทำงานรับใช้พระศาสนจักรเพียงอย่างเดียว และอยู่รวมกันเป็นคณะ (order/society/congregation) โดยแต่ละคณะมีแนวทางการทำงานและเน้นวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไป นอกจากเรียกว่า "คณะนักบวช" แล้ว ราชบัณฑิตยสถานยังใช้คำว่า คณะนักพรต และ คณะนักบวชถือพรต โดยถือว่ามีความหมายเดียวกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 163, 421-2 ส่วนประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ.
ดู คณะเบเนดิกตินและคณะนักบวชคาทอลิก
คณะเบเนดิกติน
ณะนักบุญเบเนดิกต์ (Ordo Sancti Benedicti; Order of Saint Benedict) นิยมเรียกกันว่า คณะเบเนดิกติน (Benedictine Order) (ค.ศ. 480 - ค.ศ. 547) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่ใช้ชีวิตอารามวาสีตามหลักวินัยของนักบุญเบเนดิกต์ นักพรตในคณะนี้จะอาศัยอยู่ร่วมกันในคริสต์ศาสนสถานที่เรียกว่าอาราม (บางอารามเรียกว่าแอบบีย์หรือไพรออรี) ซึ่งแต่ละอารามจะปกครองตนเองเป็นอิสระ ไม่ขึ้นต่ออารามอื่น ๆ มีสมาพันธ์เบเนดิกตินซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 13 ทรงตั้งขึ้นเพื่อเป็นองค์การปกครองคณะในระดับสากล มีอธิการไพรเมตเป็นประธานสมาพัน.
ดู คณะเบเนดิกตินและคณะเบเนดิกติน
ซูว์เฌแห่งแซ็ง-เดอนี
ซูว์เฌแห่งแซ็ง-เดอนี (Suger de Saint-Denis) หรือ อธิการซูว์เฌ (Abbot Suger) (ราว ค.ศ. 1081 - 13 มกราคม ค.ศ. 1151) ผู้เป็นอธิการ-รัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสคนสุดท้าย เป็นสถาปนิกคนแรกที่มีบทบาทสำคัญในการวิวัฒนาการลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก ประวัติเมื่อปฐมวัยของอธิการซูว์เฌไม่เป็นที่ทราบ ในบทเขียนของอธิการซูว์เฌเองกล่าวว่ามาจากฐานะที่ต่ำต้อย แต่ก็อาจจะเป็นเพียงการกล่าวถ่อมตนตามประเพณีการเขียนอัตชีวประวัติแบบโบราณ ในปี..
ดู คณะเบเนดิกตินและซูว์เฌแห่งแซ็ง-เดอนี
นักบุญบีด
นักบุญบีดผู้น่าเคารพ (Saint Bede; Venerable Bede; หรือเบดา (Beda; ค.ศ. 672/ค.ศ. 673–26 พฤษภาคม ค.ศ. 735) เป็น เป็นบาทหลวงและนักพรตโรมันคาทอลิกประจำอารามมังค์แวร์มัท-แจร์โรว์ ในราชอาณาจักรนอร์ธัมเบรีย นักบุญบีดมีชื่อเสียงจากการเป็นนักบันทึกเหตุการณ์และนักวิชาการ งานชิ้นสำคัญของท่านคือ “ประวัติศาสตร์คริสตจักรของชนอังกฤษ” ที่ทำให้ได้รับชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งประวัติศาสตร์อังกฤษ” นอกจากนั้นก็ยังเป็นหนึ่งในนักปราชญ์แห่งคริสตจักร นักบุญบีดเป็นนักบุญจากบริเตนใหญ่ผู้เดียวที่ได้รับตำแหน่งนี้ (นักบุญแอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี ได้รับตำแหน่งนี้แต่มาจากอิตาลี).
นักพรต
นักพรต (monk)กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 131 คือผู้บำเพ็ญพรต หรือผู้ประพฤติตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกาย ใจ ของตนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..
แอบบีย์
“แอบบีย์คลูนี” ในประเทศฝรั่งเศส แอบบีย์ (Abbey) คืออารามหรือคอนแวนต์ในนิกายโรมันคาทอลิก ที่อยู่ภายใต้การปกครองของอธิการอาราม (Abbot) หรืออธิการิณีอาราม (Abbess) ซึ่งทำหน้าที่เป็นพ่อหรือแม่ฝ่ายจิตวิญญาณของเหล่านักพรตที่อาศัยในแอบบีย์ “แอบบีย์” เดิมมาจาก “abbatia” ในภาษาละติน (ซึ่งแผลงจากคำ “abba” ในภาษาซีเรียค ที่แปลว่า “พ่อ”) คำว่า “แอบบีย์” อาจจะหมายถึงคริสต์ศาสนสถานที่ในปัจจุบันไม่มีฐานะเป็นแอบบีแล้ว แต่ยังคงใช้ชื่ออยู่ ซึ่งบางครั้งก็ใช้ต่อมาเป็นเวลาหลายร้อยปี เช่น แอบบีเวสต์มินสเตอร์ หรือใช้เรียกคฤหาสน์ชนบท หรือสิ่งก่อสร้างอื่นที่เดิมเป็นแอบบี แต่มาเปลี่ยนมือเป็นของคฤหัสถ์หลังจากการประกาศพระราชกฤษฎีกายุบอารามโดยพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่น มิสเซนเดนแอบบีย์ (Missenden Abbey).
โบสถ์คริสต์
อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.
ดู คณะเบเนดิกตินและโบสถ์คริสต์
เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย
นักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย (Benedict of Nursia; Benedetto da Norcia) เป็นนักบุญในศาสนาคริสต์ เกิดราว..
ดู คณะเบเนดิกตินและเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ BenedictineBenedictine monasticismBenedictine orderกฎของนักบุญเบ็นเนดิคระบบสำนักสงฆ์เบ็นนาดิคตินลัทธิเบ็นนาดิคตินวินัยของนักบุญเบเนดิกต์คณะเบ็นนาดิคตินเบ็นนาดิคติน