โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 vs. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี. รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6นายกรัฐมนตรีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)16 ธันวาคม22 กันยายน

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพ.ศ. 2476 · พ.ศ. 2476และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และพ.ศ. 2477 · พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 · กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 กรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้ลงนาม และนายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6 · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และนายกรัฐมนตรี · นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

16 ธันวาคมและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 · 16 ธันวาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

22 กันยายนและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 · 22 กันยายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 มี 38 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย มี 274 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 3.21% = 10 / (38 + 274)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »