เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 vs. คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง ส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476. ณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 มี 19 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2476พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาพหลพลพยุหเสนาพระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)กระทรวงกลาโหมกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)รายนามนายกรัฐมนตรีไทยหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)คณะรัฐมนตรีนายกรัฐมนตรีแปลก พิบูลสงครามเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และพ.ศ. 2476 · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา

ระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นราชทินนามบรรดาศักดิ์ทหาร อาจหมายถึง.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และพระยาพหลพลพยุหเสนา · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และพระยาพหลพลพยุหเสนา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) อดีตรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตสมาชิกว.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และพระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และพระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)

ลเรือตรีพระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) เป็นคณะกรรมการราษฎร รัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารเรือ.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และพระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา) · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และพระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงพาณิชย์ (Ministry of Commerce) เป็นกระทรวงหนึ่งของประเทศไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการค้า ธุรกิจบริการ ทรัพย์สินทางปัญญา และราชการอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ตั้งอยู่ที่ 44/100 ถนนสนามบินน้ำ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000.

กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม

ไม่มีคำอธิบาย.

กระทรวงกลาโหมและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงกลาโหมและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)

นาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ร.น. (22 มกราคม พ.ศ. 2438 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2508) มีชื่อจริงว่า บุง ศุภชลาศัย รองผู้บัญชาการทหารเรือ อธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อ..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย) · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรี

ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.

คณะรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 · คณะรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และนายกรัฐมนตรี · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และแปลก พิบูลสงคราม · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 มี 41 ความสัมพันธ์ขณะที่ คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 มี 39 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 19, ดัชนี Jaccard คือ 23.75% = 19 / (41 + 39)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: