ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย
คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวน หลีกภัยพระมหากษัตริย์ไทยพจน์ สารสินรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ควง อภัยวงศ์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61ฉัตรชัย สาริกัลยะแปลก พิบูลสงคราม
ชวน หลีกภัย
วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.
คณะรัฐมนตรีไทยและชวน หลีกภัย · ชวน หลีกภัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..
คณะรัฐมนตรีไทยและพระมหากษัตริย์ไทย · พระมหากษัตริย์ไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
พจน์ สารสิน
น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.
คณะรัฐมนตรีไทยและพจน์ สารสิน · พจน์ สารสินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย
รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่ว.
คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.
คณะรัฐมนตรีไทยและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ·
สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์
นธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (นางอรรชกา สีบุญเรือง) และเป็นประธานสมาพันธ์เอสเอ็มอีไท.
คณะรัฐมนตรีไทยและสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยและสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ ·
ควง อภัยวงศ์
รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.
คณะรัฐมนตรีไทยและควง อภัยวงศ์ · ควง อภัยวงศ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
คณะรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.
คณะรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
ฉัตรชัย สาริกัลยะ
ลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ประธานกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประธานคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมประธานคณะอนุกรรมการร่วมจัดทำยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 สินค้า ประธานกรรมการคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจ อดีตประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ รองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และเป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตประธานคณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุน อดีตรองผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก อดีตเจ้ากรมการทหารสื่อสาร และอดีตผู้อำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก.
คณะรัฐมนตรีไทยและฉัตรชัย สาริกัลยะ · ฉัตรชัย สาริกัลยะและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ·
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.
คณะรัฐมนตรีไทยและแปลก พิบูลสงคราม · รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยและแปลก พิบูลสงคราม ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย
การเปรียบเทียบระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย
คณะรัฐมนตรีไทย มี 162 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย มี 224 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 2.85% = 11 / (162 + 224)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: