โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ vs. อิสระพงศ์ หนุนภักดี

ณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. (National Peace Keeping Council - NPKC) เป็นคณะนายทหารที่ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำโดย พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก, พลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ คณะ ร. ให้เหตุผลในการยึดอำนาจว. ลเอก พลตำรวจเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กตุ๋ย (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560) อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พฤษภาทมิฬรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยวิมล วงศ์วานิชสุจินดา คราประยูรสุนทร คงสมพงษ์อนันต์ กลินทะ

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพ.ศ. 2534 · พ.ศ. 2534และอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพ.ศ. 2535 · พ.ศ. 2535และอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพฤษภาทมิฬ · พฤษภาทมิฬและอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534และอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

วิมล วงศ์วานิช

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิมล วงศ์วานิช (1 มีนาคม 2477 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 28 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535 - 30 กันยายน 2538 เป็นบุตร นายศิริ และ นางเอื้อน วงศ์วานิช ภริยาชื่อ พันตรีหญิง คุณหญิง มาลี วงศ์วาน.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวิมล วงศ์วานิช · วิมล วงศ์วานิชและอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสุจินดา คราประยูร · สุจินดา คราประยูรและอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 มีชื่อเรียกในสื่อสารมวลชนว่า บิ๊กจ๊อ.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสุนทร คงสมพงษ์ · สุนทร คงสมพงษ์และอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ กลินทะ

ลอากาศเอก อนันต์ กลินทะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตรองผู้บัญชาการทหารอาก.

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอนันต์ กลินทะ · อนันต์ กลินทะและอิสระพงศ์ หนุนภักดี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ มี 67 ความสัมพันธ์ขณะที่ อิสระพงศ์ หนุนภักดี มี 45 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 8.04% = 9 / (67 + 45)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »