เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ vs. ประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ชื่อย่อ คม. (Council of National Security - CNS) เป็นคณะบุคคลที่แปรสภาพมาจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยสำเร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน.. ประชาทรรศน์ เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน วางจำหน่ายทุกวันจันทร์-วันศุกร์ จำนวน 16 หน้า ราคาฉบับละ 7 บาท นำเสนอข่าวทั่วไป มีคำขวัญว่า “หนังสือพิมพ์รายวันทางเลือกเพื่อประชาชน” ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2550 หลังจากที่พิมพ์เป็นฉบับทดลองมาแล้ว 10 ฉบับ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม มีพิธาน คลี่ขจาย น้องชายสุภาพ คลี่ขจาย เป็นบรรณาธิการบริหาร ผศ.จรัล ดิษฐาอภิชัย ประธานคณะกรรมการประชาชนเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 (คปพร.) อดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และอดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และอเนก เรืองเชื้อเหมือน เป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์มีเนื้อหาส่วนมากเกี่ยวกับการแสดงทัศนคติทางการเมืองที่แตกต่างจากสื่อกระแสหลัก โดยมีจุดยืนในการส่งเสริมระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ต่อต้านการรัฐประหาร และการชุมนุมทางการเมืองที่ปฏิเสธคณะบุคคลที่เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งหมายถึงคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ต่อมา การนำเสนอข่าวในระยะหลังเป็นไปในทำนองให้การสนับสนุนนายเนวิน ชิดชอบ และพรรคภูมิใจไทย เนื่องจากนายเนวินเป็นนายทุนให้กับหนังสือพิมพ์ฉบับนี้นั่นเอง และสีหัวข่าวใหญ่ปรับเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแทนรวมไปถึงได้โจมตีกลุ่ม แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ตีพิมพ์วางจำหน่าย 581 ฉบับ กระทั่งวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553 ได้ตีพิมพ์เป็นฉบับสุดท้าย ก่อนที่บริษัท สำนักข่าวประชาทรรศน์ จำกัด ตัดสินใจหยุดผลิต หยุดจำหน่าย และให้พนักงานลาออกจำนวนมาก ปัจจุบันเหลือเพียงแค่เว็บไซต์ประชาทรรศน์ออนไลน์ที่นำเสนอข่าว ส่วนกองบรรณาธิการบางส่วนหันไปผลิตรายการวิทยุ โดยใช้ชื่อว่าสถานีวิทยุชุมชนปกป้องสถาบัน นำโดยนายอุดมศักดิ์ สาวนะ บรรณาธิการอำนวยการหนังสือพิมพ์ประชาทรรศน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์) มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 25501 ตุลาคม15 มกราคม

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและพ.ศ. 2550 · ประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

1 ตุลาคมและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ · 1 ตุลาคมและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

15 มกราคมและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ · 15 มกราคมและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ ประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์) มี 27 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.45% = 3 / (28 + 27)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: