โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ดัชนี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

184 ความสัมพันธ์: บรรเจิด สิงคะเนติชวน หลีกภัยชาญชัย ลิขิตจิตถะพ.ศ. 2525พ.ศ. 2553พรรคพลังประชาชนพรรคประชาธิปัตย์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)พระนาย สุวรรณรัฐพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาพล ตัณฑเสถียรพันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทรพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคกบฏสันติภาพกฎหมายมหาชนกฎหมายระหว่างประเทศกฎหมายสิ่งแวดล้อมกฎหมายอาญากฎหมายแพ่งกฎหมายเอกชนกรมประชาสัมพันธ์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกล้านรงค์ จันทิกการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยการจัดการทรัพยากรมนุษย์การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การเมืองกิตติศักดิ์ ปรกติภาคเหนือ (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยบริสตอลมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยลอนดอนมหาวิทยาลัยวอชิงตันมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสันมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลียมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยปารีสมหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิสมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเยลมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน...มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มารุต บุนนาครัฐศาสตร์ราชบัณฑิตราชการราชกิจจานุเบกษารายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรางวัลซีไรต์ลิขิต ธีรเวคินวรเจตน์ ภาคีรัตน์วสันต์ สร้อยพิสุทธิ์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวาสนา เพิ่มลาภวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์วิษณุ เครืองามวิทยานิพนธ์วุฒิสภาวีระกานต์ มุสิกพงศ์ศักดา โมกขมรรคกุลศาลฎีกาศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)ศาลรัฐธรรมนูญศาลจำลองศาลปกครอง (ประเทศไทย)ศุภชัย ภู่งามสภาผู้แทนราษฎรสภาผู้แทนราษฎรไทยสภาปฏิรูปแห่งชาติสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมยศ เชื้อไทยสมัคร สุนทรเวชสมคิด เลิศไพฑูรย์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สยามมกุฎราชกุมารสวนโมกขพลารามสหรัฐสหราชอาณาจักรสหสมภพ ศรีสมวงศ์สะพานผ่านพิภพลีลาสัก กอแสงเรืองสัญญา ธรรมศักดิ์สันติ ทักราลสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินสื่อมวลชนสุรพล นิติไกรพจน์สีขาวสดศรี สัตยธรรมหยุด แสงอุทัยหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุลอรรถนิติ ดิษฐอำนาจอักขราทร จุฬารัตนอัยการสูงสุดอาชญาวิทยาอำเภอห้างฉัตรอำเภอคลองหลวงอิศริยา สายสนั่นอุดมศักดิ์ นิติมนตรีอธิการบดีจรัล บูรณพันธุ์ศรีจังหวัดลำปางจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดปทุมธานีจารุวัฒน์ เชี่ยวอร่ามจำรัส เขมะจารุจิตติ ติงศภัทิย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจงรัก จุฑานนท์ธรรมศาสตรบัณฑิตธานินทร์ กรัยวิเชียรถนนพระจันทร์ถนนพหลโยธินทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชียทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2ทวีป วรดิลกคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะราษฎรคณะวิชาคณะองคมนตรีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณิต ณ นครคตส.ซีซันไฟฟ์ประภาศน์ อวยชัยประมาณ ชันซื่อประยุทธ์ จันทร์โอชาประสพสุข บุญเดชประเสริฐ นาสกุลประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศสเปนประเทศออสเตรเลียประเทศจีนประเทศแคนาดาประเทศไทยประเทศเยอรมนีปริญญา เทวานฤมิตรกุลปรีดี พนมยงค์ปรีดี เกษมทรัพย์ปัญญา ถนอมรอดปาล พนมยงค์นักวิจัยดีเด่นแห่งชาตินายกรัฐมนตรีนิติศาสตรบัณฑิตนิติศาสตร์แก้วสรร อติโพธิโกเมน ภัทรภิรมย์โรงพยาบาลศิริราชโสภณ รัตนากรโอภาส อรุณินท์ไพโรจน์ วายุภาพเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์เศรษฐศาสตร์เสาวนีย์ อัศวโรจน์เหตุการณ์ 14 ตุลาเอื้อ สุนทรสนานเจษฎ์ โทณวณิกเขตพระนครเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์เนติบัณฑิตเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์14 มิถุนายน20 มีนาคม25 เมษายน ขยายดัชนี (134 มากกว่า) »

บรรเจิด สิงคะเนติ

ตราจารย์ บรรเจิด สิงคะเนติ กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ อดีตกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตผู้อำนวยการศูนย์นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการพิจารณาแนวทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปการเมือง และศึกษาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบรรเจิด สิงคะเนติ · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพรรคพลังประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)

frameless พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ หรือ สิทธิ จุณณานนท์ (ชื่อเดิม สุทธิ จุณณานนท์) (29 มิถุนายน พ.ศ. 2438 - 27 มิถุนายน พ.ศ. 2520) เป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ ในสมัยรัฐบาลเสนีย์ ปราโมช อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงยุติธรรม ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อดีตอธิบดีกรมอัยการ ในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระนาย สุวรรณรัฐ

ระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารชายแดนใต้ (ผอ.ศอ.บต.) พื้นเพเป็นคนกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ เคยตามบิดาซึ่งเป็นข้าหลวงไปปราบโจรสลัดทะเลสาบ เดินทางไปเติบโตที่จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2495 หลังจากนั้นจึงได้ย้ายมาศึกษาที่กรุงเทพฯ อีกครั้งในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระนาย สุวรรณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

ลตรีหญิง ดร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา · ดูเพิ่มเติม »

พล ตัณฑเสถียร

ล ตัณฑเสถียร นายแบบ, นักแสดง, นักร้อง และคอลัมนิสต์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2514 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผลงานการแสดงที่ขึ้นชื่อเช่น คู่กรรม เมื่อปี พ.ศ. 2539 ปัจจุบันได้ผันตัวเองไปเป็นเชฟและเปิดร้านอาหารของตัวเองที่ชื่อว่า Spring & Summer สุขุมวิท ซอย 39 และร้านอาหาร Wicked สยามสแควร์วันในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพล ตัณฑเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร (เกิด 23 ธันวาคม พ.ศ. 2501) หรือชื่อเมื่อเกิดว่า พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา และชื่อเล่นว่า แหวว เป็นข้าราชการชาวไทย เป็นอาจารย์วิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเป็นนักเคลื่อนไหวและนักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

กบฏสันติภาพ

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ขณะเดินทางมาฟังการพิจารณาคดีกบฏทั้งในและนอกราชอาณาจักร กบฏสันติภาพ ชื่อเรียกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้จับกุมประชาชนจำนวนมาก โดยอาศัยอำนาจตามความในกฎหมายลักษณะอาญา ร..127 มาตรา 102, 104, 177, 181 แล.ร..แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะอาญา (ฉบับที่ 7)..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกบฏสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายมหาชน

กฎหมายมหาชน (public law) คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับรัฐ หรือความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลด้วยกันเองซึ่งเกี่ยวพันโดยตรงถึงสังคม อาจแบ่งเป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายภาษี กฎหมายอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาคดี ส่วนกฎหมายที่ว่าเฉพาะด้วยความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลด้วยกันนั้นเรียก กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชนนั้นว่าด้วยความสัมพันธ์ที่ไม่สมดุลและไม่เท่าเทียมกัน กล่าวคือ ฝ่ายหนึ่งมีสถานะสูงกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น รัฐที่มีอำนาจกำหนดเกี่ยวกับสิทธิของปัจเจกบุคคล แต่ด้วยผลของหลักนิติธรรม การกำหนดดังกล่าวจะต้องเป็นไปภายในขอบเขตของกฎหมาย (secundum et intra legem) และรัฐจะต้องเคารพกฎหมาย ราษฎรที่ไม่พอใจคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ทางปกครองก็อาจร้องขอต่อศาลให้ทบทวนคำวินิจฉัยดังกล่าว การแบ่งแยกกฎหมายออกเป็นฝ่ายมหาชนและเอกชนนั้นย้อนหลังไปได้ถึงสมัยกฎหมายโรมัน ประเทศที่ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์จัดการแบ่งแยกดังกล่าวมาตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 และนับแต่นั้น แนวคิดเรื่องการแบ่งแยกก็แพร่ไปสู่ประเทศคอมมอนลอว์ด้วย ขอบเขตของกฎหมายมหาชนกับกฎหมายเอกชนอาจทับซ้อนกันได้ในบางกรณี ทำให้มีความพยายามที่จะเสนอทฤษฎีเกี่ยวกับรากฐานของกฎหมายทั้งสองกลุ่มมาตลอ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฎหมายมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายระหว่างประเทศ

กฎหมายระหว่างประเทศ (International law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากความตกลง หรือการแสดงเจตนาเข้าผูกพันของรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไป และมักใช้เป็นหลักในการพิจารณาข้อพิพาทระหว่างประเท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฎหมายระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

กฎหมายสิ่งแวดล้อม (environmental law) คือ กฎหมายประเภทหนึ่ง มักตราขึ้นเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เนื้อหาครอบคลุมการป้องกัน และเยียวยาความเสื่อมโทรมแห่งสุขภาพทั้งของมนุษย์และอมนุษย์ และมักคาบเกี่ยวกับกฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย ฯลฯ หลากชนิด กฎหมายสิ่งแวดล้อมของบางประเภทอาจกำหนดคุณภาพสิ่งแวดล้อม และจำกัดเงื่อนไขในการดำเนินกิจการบางประเภทของมนุษย์ เช่น กำหนดปริมาณของภาวะมลพิษที่จะให้มีได้ หรือกำหนดให้ต้องมีการวางแผนและการตรวจสอบกิจการบางอย่าง เป็นต้น นโยบายของรัฐ เป็นต้นว่า มาตรการกันไว้ดีกว่าแก้ (precautionary principles) การมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม และมาตรการใครทำคนนั้นจ่าย (polluter pay principles) ล้วนเป็นลักษณะหนึ่งของกฎหมายสิ่งแวดล้อม ได้มีการริเริ่มจะให้มีกฎหมายสิ่งแวดล้อมขึ้นเป็นครั้งแรกในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมประมาณช่วง พ.ศ. 2503 อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่านานาประเทศในโลกจะได้ตรากฎหมายสิ่งแวดล้อมขึ้น แต่กลไกแห่งกฎหมายดังกล่าวก็มักไม่ประสบผล และในปัจจุบัน กฎหมายสิ่งแวดล้อมก็ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งในการโฆษณาและส่งเสริมกลไกการพัฒนาอย่างยั่งยืน การปฏิรูปกฎหมายสิ่งแวดล้อมในขณะนี้ เป็นไปเพื่อพัฒนามาตรการด้านสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมที่ใช้มาตรการบังคับและควบคุม (command and control) ซึ่งผู้คนมักไม่พึงใจนัก ผลส่วนหนึ่งที่ได้จากการปฏิรูปดังกล่าว เป็นต้นว่า การจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อม การวางมาตรฐานบางอย่าง เช่น ไอเอสโอ 14001.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฎหมายสิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายอาญา

กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้นเพื่อกำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น เป็นกฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเป็นความผ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฎหมายอาญา · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายแพ่ง

กฎหมายแพ่ง (civil law) เป็นกฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพ สิทธิ และหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม เอกเทศสัญญา ทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก แต่งงาน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฎหมายแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายเอกชน

กฎหมายเอกชน (Private law) คือกฎหมายที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน หรือเอกชนกับนิติบุคคล ทั้งนี้กฎหมายเอกชนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลกับบุคคล เช่น กฎหมายมรดก กฎหมายครอบครัว กฎหมายเกี่ยวกับสัญญา เป็นต้น หมวดหมู่:กฎหมายเอกชน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกฎหมายเอกชน · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กล้านรงค์ จันทิก

กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายยนต์ และนางศรีสว่าง จันทิก สมรสกับนางพันทิพา จันทิก มีบุตรธิดา 3 คน นายกล้านรงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ ป.ป..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกล้านรงค์ จันทิก · ดูเพิ่มเติม »

การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

ระบบการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (เรียกสั้น ๆ ว่า ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษา) เป็นระบบการรับสมัครบุคคลที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษามีการพัฒนามาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ หรือ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ การใช้กลยุทธ์เชิงรุกที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในองค์กร นั่นคือบุคคลที่ทำงานทั้งกรณีที่ทำงานรวมกันและกรณีที่ทำงานคนเดียวเพื่อบรรลุเป้าหมายในการประกอบธุรกิจใดๆ กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้นจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไปตามเวลาและสถานการณ์ จึงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในธุรกิจหลากหลายประเภทและขนาดจึงมีแผนกหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่งขนาดของแผนกหรือหน่วยงานนั้น จะมากน้อยก็ขึ้นอยู่กับขนาดของธุรกิจเองรวมถึงความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ด้วยว่าสำคัญยิ่งยวดมากน้อยเพียงใด การจัดการทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นทั้งทฤษฎีในเชิงวิชาการและแบบปฏิบัติในธุรกิจที่ศึกษาวิธีการบริหารแรงงานทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

การเมือง

การเมือง (politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา '''ฮาโรลด์ ลาสเวลล์''' นักโทษคนหนึ่ง ได้นิยามการเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า "ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร" วิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใช้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ ปรกติ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติศักดิ์ ปรกติ (เกิด 7 ธันวาคม 2499) เป็นข้าราชการชาวไทย และเป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ความเห็นแปลก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกิตติศักดิ์ ปรกติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบริสตอล

มหาวิทยาลัยบริสตอล (University of Bristol) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งในใจกลางเมือง (และเคาน์ตี) บริสตอล สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงด้านแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และมีนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลหลายท่าน อาทิ พอล ดิแรก ฮันส์ เบเทอ ฯลฯ มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red brick university) ร่วมกับมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งในยุคเดียวกัน และเป็นสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยในสหราชอาณาจักร ยิ่งไปกว่านั้น มหาวิทยาลัยได้เป็นสมาชิกกลุ่มโคอิมบรา ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาโบราณในยุโรปอีกด้วย มหาวิทยาลัยบริสตอลมีประวัติการก่อตั้งยาวนาน และมีชื่อเสียงทางวิชาการอย่างยิ่ง ซึ่งจะเห็นได้จากจำนวนสมาชิกราชบัณฑิตยสถานด้านแพทยศาสตร์ 21 คน ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถานอังกฤษ 13 คน สมาชิกราชวิทยสมาคม ถึง 40 คน อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษาน้อยกว่ามหาวิทยาลัยเวสต์ออฟอิงแลนด์ซึ่งเป็นสถาบันข้างเคียง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลอนดอน

ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองในสหราชอาณาจักร ดำเนินงานส่วนใหญ่อยู่ในลอนดอน มีนักศึกษาในวิทยาเขต 135,090 คน และมากกว่า 40,000 ในโครงการ University of London External Programme มหาวิทยาลัยก่อตั้งใน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวอชิงตัน

มหาวิทยาลัยวอชิงตัน (University of Washington) หรือรู้จักในชื่อ ยูดับ (UW) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่รัฐวอชิงตัน เป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในบริเวณชายฝั่งตะวันตกของประเทศ มหาวิทยาลัยวอชิงตันมี 3 วิทยาเขต โดยวิทยาเขตที่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่เมืองซีแอทเทิล และวิทยาเขตอื่นอยู่ที่เมืองทาโคมา และโบเธลล์ มหาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1861 มหาวิทยาลัยวอชิงตันมีชื่อเสียงอย่างมากในด้านการแพทย์และการพยาบาล และในด้านอื่น ๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) หรือนิยมเรียก มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองแมดิสัน ในรัฐวิสคอนซิน มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848) ในปัจจุบัน (ปี 2548 เทอมฤดูใบไม้ร่วง) มีนึกศึกษาทั้งหมด 41,480 คน ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน มีนักศึกษามากเป็นอันดับ 10 ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน มีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ในตัวเมืองโดยด้านหลังมหาวิทยาลัยเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ และด้านหน้ามหาวิทยาลัยเป็นถนนชื่อสเตต เป็นแหล่งชอปปิงชื่อดังของเมืองแมดิสัน ภาพในมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ด้านหลังเป็นตึกแคปิตอลของรัฐวิสคอนซิน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย

มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย (University of East Anglia) ตั้งอยู่ที่เมือง นอริช สหราชอาณาจักร เริ่มก่อตั้งในปี..1963 ปัจจุบันเป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำที่เน้นทางด้านการวิจัยโดยในปี 2013 มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพงานวิจัยอันดับที่ 90 ของโลกในปี 2013 มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลียมีชื่อเสียงอย่างมากจากงานวิจัยที่มีผลกระทบกับสภาวะโลกร้อน มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม 1994 Group ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ ในปัจจุบันมีนักศึกษากว่า 17000 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีประมาณ 12000 คน และระดับสูงกว่าปริญญาโทกว่า 4000 คน โดยมีนักศึกษาชาวต่างชาติกว่า 2500 คนจากกว่า 100 ประเท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน

มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน (University of Aberdeen) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยโบราณของสกอตแลนด์ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1495 เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสามของสกอตแลนด์ และอันดับห้าของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเมืองแอเบอร์ดีน ทางด้านตะวันออกของสกอตแลนด์ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนถูกตั้งขึ้นโดย William Elphinstone องค์พระสันตปาปาแห่งเมืองแอเบอร์ดีน มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีชื่อเสียงทางด้านงานวิจัยและการเรียนการสอนทางด้านการแพทย์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกฎหมาย โดยเฉพาะสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์นั้น ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีศูนย์ Medical Science ที่มีความทันสมัยที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนยังเป็นศูนย์กลางการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ของสก็อตแลนด์อีกด้วย มหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีนมีชื่อเสียงทางด้านกฎหมายเป็นอย่างมากและได้รับการจัดอันดับให้อยู่ใน Top 10 ของ UK โดยนอกจากจะมีหลักสูตรทางด้านกฎหมายสาขาต่างๆที่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นแล้ว ยังมีหลักสูตร Energy law ที่ครอบคลุมทั้ง Oil & Gas, Renewable Energy, Energy Market, Upstream และ Downstream อีกด้ว.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยแอเบอร์ดีน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส

ตึกคณะนิติศาสตร์ของยูซีแอลเอ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส (ยูซีแอลเอ หรือ UCLA) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่ทำการวิจัยตั้งอยู่ในเขตเวสต์วูต ของมหานครลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยนี้เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ยูซีแอลเอเป็นส่วนหนึ่งของการให้การศึกษาเป็นระบบของรัฐบาลและถือเป็นมหาวิทยาลัยระบบไอวีลีคของรัฐบาล มหาวิทยาลัยเปิดสอนให้แก่นักเรียนในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาจำนวนกว่า 337 หลักสูตรในสาขาวิชาที่หลากหลายVazquez, Ricardo.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเยล

ห้องสมุดรัฐศาสมหาวิทยาลัยเยล มหาวิทยาลัยเยล (Yale University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ในนิวเฮเวน รัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งใน ค.ศ. 1701 มหาวิทยาลัยเยลเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 3 ของสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยเยลอยู่ในกลุ่มไอวี่ลีก ในปี พ.ศ. 2549 มีนักเรียน 16,700 คน อาจารย์ 2,300 คน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเยล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน (FU Berlin; เยอรมัน: Freie Universität Berlin; อังกฤษ: The Free University of Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งใน ค.ศ. 1948 โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ถูกไล่ออก เพราะมุมมองทางการเมืองของพวกเขา จากมหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน (ก่อนหน้านี้ชื่อ Friedrich-Wilhelms-Universität) ซึ่งในตอนนั้นควบคุมดูแลโดยผู้มีอำนาจในเขตดูแลของโซเวียต (เบอร์ลินตะวันออก) ใน ค.ศ. 1968 มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางของขบวนการนักศึกษาฝ่ายซ้าย พร้อม ๆ กับนักศึกษาในปารีส ลอนดอน และเบิร์กลี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เป็นชื่อของเครือข่ายวิชาการและเว็บไซต์ที่นำเสนอการสนทนาแลกเปลี่ยนจากเครือข่ายวิชาการในชื่อเดียวกัน ก่อตั้งโดยกลุ่มนักวิชาการซึ่งเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่น นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักประวัติศาสตร์และอดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มี สมเกียรติ ตั้งนโม เป็น "อธิการบดี" มหาวิทยาลัย เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนรวบรวมบทความทางวิชาการหลายสาขา ทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งมีกระดานข่าวสาธารณะให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และส่วนสารานุกรมฟรีในเรื่องเกี่ยวกับลัทธิหลังสมัยใหม่ การนำเสนอคำศัพท์ใหม่ ๆ พร้อมคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจโลก และความคิดร่วมสมัย ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เนื้อหาในเว็บไซต์ไม่สงวนสิทธิ์ในการใช้ประโยชน์ทางวิชาการ โดยระบุไว้ในหน้าแรกของเว็บไซต์ว่า "ผู้ที่นำข้อมูลสารานุกรมฟรีไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการ เผยแพร่ หรืออ้างอิง โดยต้องไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ได้รับความยินยอมจากผู้เรียบเรียง สำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ตามที่ระบุไว้ กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาตามสมควร โดยระบุถึงเว็บไซต์ และ URL มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน www.midnightuniv.org" โดยมี สมเกียรติ ตั้งนโม ทำหน้าที่เป็นทั้งเว็บมาสเตอร์และบรรณาธิการเว็บไซต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรัฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัณฑิต

ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัณฑิตว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และราชบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ราชการ

ราชการ (สำหรับประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) หรือ รัฐการ (สำหรับประเทศที่ไม่ได้มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข) เป็นระบบการทำงานอย่างหนึ่งของรัฐ หมายถึง การงานของพระมหากษัตริย์หรือรัฐบาล รวมไปถึงของทหารและตำรวจซึ่งอาจเรียกแยกเฉพาะว่า "ราชการฝ่ายทหาร" หรือ "รัฐการฝ่ายทหาร" แล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลซีไรต์

ัญลักษณ์ของรางวัลซีไรต์ รางวัลซีไรต์ (S.E.A. Write) มีชื่อเต็มว่า รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (Southeast Asian Writers Award) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรางวัลซีไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิต ธีรเวคิน

ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) อดีตหัวหน้าพรรคพลังแผ่นดินไท (30 มิถุนายน พ.ศ. 2549-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) และ เคยได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย อีกด้วย (พ.ศ. 2545-2548 และ พ.ศ. 2549) สำหรับในด้านภูมิปัญญาความคิด ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ถือเป็นนักวิชาการอาวุโสที่ทรงอิทธิพลในวงการสังคมศาสตร์ไทย ทั้งยังคร่ำหวอดและเชี่ยวชาญการเมืองไทยมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ มีข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองผ่านสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อยู่สม่ำเสมอ เป็นเจ้าของวลีเด็ดที่เตือนสังคมไทยในวิกฤตการณ์การเมืองช่วงปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน · ดูเพิ่มเติม »

วรเจตน์ ภาคีรัตน์

ตราจารย์ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ (เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย เป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาอื่นอีกหลายแห่ง มีชื่อเสียงจากการร่วมก่อตั้งคณะนิติราษฎร์ที่เสนอแนะการปรับปรุงสังคมในหลายด้าน โดยเฉพาะการต่อต้านอุปสรรคในการพัฒนาประชาธิปไตย แต่เนื่องจากมีผู้ไม่เห็นด้วย จึงมีการต่อต้านวรเจตน์กับเพื่อนหลายครั้ง คราวร้ายแรงที่สุด มีผู้ทำร้ายร่างกายเขาจนบาดเจ็บ มติชนออนไลน์ ให้วรเจตน์กับเพื่อนคณะนิติราษฎร์เป็นบุคคลผู้ทรงอิทธิพลแห่งปี 2553 ในสาขาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีมติให้เขาเป็นศาสตราจารย์ในเดือนสิงหาคม 2557.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวรเจตน์ ภาคีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

วสันต์ สร้อยพิสุทธิ์

นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ '''อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ''' เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายชั้น และนางมาลี สร้อยพิสุท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา เพิ่มลาภ

ลตำรวจเอก วาสนา เพิ่มลาภ อดีตประธานกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวาสนา เพิ่มลาภ · ดูเพิ่มเติม »

วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

ตราจารย์ วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นกรรมการในหน่วยงานต่างๆ อีกหลายหน่วยงาน ท่านเป็นผู้พิการทางสายตา ที่มีบทบาทในการเป็นแกนนำรณรงค์เพื่อประโยชน์ของผู้พิการในหลายด้าน และได้รับรางวัลและการยกย่องจากหลายๆ หน่วยงาน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยานิพนธ์

วิทยานิพนธ์, ปริญญานิพนธ์ หรือ ดุษฎีนิพนธ์ (thesis หรือ dissertation) เป็นเอกสารที่เขียนโดยนักวิจัย นักศึกษา หรือนักวิชาการ พรรณนาขั้นตอน วิธีการ และผลการศึกษาวิจัยที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ โดยเขียนอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน สำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา วิทยานิพนธ์เป็นเอกสารบังคับในการจบการศึกษา สำหรับนักวิจัยหรือนักวิชาการจะใช้เป็นเอกสารในการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทยานิพนธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา โมกขมรรคกุล

นายศักดา โมกขมรรคกุล (8 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีกา สมรสกับแพทย์หญิง คุณหญิงสำรวย โมกขมรรคกุล.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศักดา โมกขมรรคกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)

ลยุติธรรม เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา เว้นแต่ที่มีบัญญัติเป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญหรือตามกฎหมายอื่น.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาลยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาลรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลจำลอง

ลจำลอง (moot court) เป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรของโรงเรียนกฎหมายซึ่งเป็นการจำลองการพิจารณาพิพากษาคดีในศาล ในการดำเนินกิจกรรมศาลจำลองนี้ ผู้เข้าร่วมจะได้รับคดีไว้ล่วงหน้าก่อนการพิจารณาพิพากษาคดี พวกเขาต้องทำการวิเคราะห์ วิจัย และเตรียมคดี โดยกระทำทุกกระบวนการเสมือนว่าเป็นทนายความของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง (โจทก์หรือจำเลย ผู้ร้องหรือผู้ถูกร้อง) หรือทั้งสองฝ่าย เพื่อฝึกทักษะการใช้เหตุผลและการว่าความ จากนั้นผู้แข่งขันจะต้องเขียนคำให้การ และเตรียมแถลงการณ์ด้วยวาจา คดีที่เป็นปมปัญหานั้นมักเป็นคดีที่มีความโดดเด่นทั้งในด้านของกฎหมายที่นำมาปรับใช้ ตลอดจนวิธีพิจารณาความ ผู้เข้าแข่งขันมักได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการศึกษาของตนหรือองค์กรต่างๆที่สนใจในด้านกฎหมาย คดีที่ได้รับนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นคดีที่มีความเกี่ยวข้องคล้ายคลึงกันกับคดีความที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นจริงในช่วงเวลานั้นๆ และบางครั้งก็มีการตั้งปมปัญหาขึ้นมาใหม่ให้ยุ่งยากซับซ้อนขึ้นเพื่อท้าทายประเด็นทางกฎหมาย ด้วยประสบการณ์ที่ผู้เข้าร่วมการแข่งขันศาลจำลองได้ฝึกฝน สำนักงานกฎหมายที่เกี่ยวข้องในด้านการฟ้องร้องคดี มักจะรับนักเรียนกฎหมายที่เคยเข้าร่วมการแข่งขันนี้เข้าทำงาน สำหรับประเทศไทยนั้น คณะนิติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยต่าง ได้มีการจัดทำกิจกรรมศาลจำลองนี้ ในรูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ทั้งที่เป็นลักษณะรายวิชาประกบอการเรียนการสอน การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีในศาล วิพากษ์และตีแผ่ประเด็นกฎหมายที่อยู่ในความสนใจในขณะนั้น รวมทั้งยังมีการส่งตัวแทนนิสิต นักศึกษาไปแข่งขันในระดับนานาชาติอีกด้วย อาทิ การแสดงศาลจำลองของนักศึกษา ในงานวันรพี ที่จัดขึ้นโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ในปี 2005-2006 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าร่วมการแข่งขัน Willem C. Vis International Commercial Arbitration Moot Competition ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย และ ณ เขตการปกครองพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน และเข้าร่วมการแข่งขัน Phillip C. Jessup International Law Competition ณ กรุงวอชิงตัน ดี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาลจำลอง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง (ประเทศไทย)

ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/admincourt/site/01sign.html ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครอง (Administrative Court) เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276 และมีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมและมีอำนาจหน้าที่พิจารณาพิพากษา “คดีปกครอง” ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันอีกกรณีหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ ศาลปกครอง เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะมีการพิจารณาโดยองค์คณะของตุลาการ ต่างจากศาลยุติธรรมซึ่งใช้ระบบกล่าวหา ศาลปกครองแบ่งออกเป็น "ศาลปกครองชั้นต้น" และ "ศาลปกครองสูงสุด".

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศาลปกครอง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย ภู่งาม

นายศุภชัย ภู่งาม (4 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) องคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศุภชัย ภู่งาม · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสภาปฏิรูปแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ เชื้อไทย

รองศาสตราจารย์ สมยศ เชื้อไทย (เกิด พ.ศ. 2493) เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเครื่องหมายการค้ากระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย) ประธานกรรมการมูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ และนักวิชาการชาวไทย โดยเป็นรองศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ ภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตคณบดีคณะดังกล่าว.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมยศ เชื้อไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด เลิศไพฑูรย์

ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมคิด เลิศไพฑูรย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สยามมกุฎราชกุมาร

มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสยามมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

สวนโมกขพลาราม

ีฌาปนกิจร่างพุทธทาสภิกขุ ณ สวนโมกขพลาราม สวนโมกขพลาราม หรือชื่อเรียกทางการว่า วัดธารน้ำไหล จัดตั้งโดย พุทธทาสภิกขุ ตั้งที่เขาพุทธทอง ริมทางหลวงหมายเลข 41 บริเวณกิโลเมตรที่ 134 อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและสถานที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก ท่านพุทธทาส หรือ พระมหาเงื่อม ในเวลานั้น พร้อมด้วยโยมน้องชาย คือ นายยี่เกย หรือ คุณธรรมทาส พานิช และ เพื่อนในคณะธรรมทานประมาณ 4 - 5 คน เท่านั้น ที่ร่วมรับรู้ถึงปณิธานอันมุ่งมั่นในการปฏิบัติธรรม ตามรอยพระอรหันต์ ของท่าน ทุกคนเต็มอกเต็มใจ ที่จะหนุนช่วยด้วยความศรัทธา โดยพากันออกเสาะหาสถานที่ ซึ่งคิดว่ามี ความวิเวก และ เหมาะสมจะเป็นสถานที่ เพื่อทดลองปฏิบัติธรรม ตามรอยพระอรหันต์ สำรวจกันอยู่ประมาณเดือนเศษ ก็พบ วัดร้าง เนื้อที่ประมาณ 60 ไร่ ชื่อ วัดตระพังจิก ซึ่งรกร้างมานาน บริเวณเป็น ป่ารกครึ้ม มีสระน้ำใหญ่ ซึ่งร่ำลือกันว่ามีผีดุอาศัยอยู่ เมื่อเป็นที่พอใจแล้ว คณะอุบาสก ดังกล่าว ก็จัดทำเพิงที่พัก อยู่หลัง พระพุทธรูปเก่า ซึ่งเป็น พระประธาน ใน วัดร้าง นั้น แล้วท่านก็เข้าอยู่ใน วัดร้างแห่งนี้ เมื่อวันทื่ 12 พฤษภาคม 2475 อันตรงกับ วันวิสาขบูชา โดยมี อัฐบริขาร ตะเกียง และ หนังสืออีกเพียง 2 - 3 เล่ม ติดตัวไป เท่านั้น เข้าไปอยู่ได้ไม่กี่วัน วัดร้าง นาม ตระพังจิก นี้ ก็ได้รับการตั้งนามขึ้นใหม่ ซึ่งท่านเห็นว่า บริเวณใกล้ที่พักนั้น มี ต้นโมก และ ต้นพลา ขึ้นอยู่ทั่วไป จึงคิดนำคำทั้งสองมาต่อเติมขึ้นใหม่ ให้มีความหมายใน ทางธรรม จึงเกิดคำว่า สวนโมกขพลาราม อันหมายถึง สวนป่าอันเป็นกำลังแห่งความหลุดพ้นทุกข์ ขึ้นในโลกตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสวนโมกขพลาราม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหสมภพ ศรีสมวงศ์

นายสหสมภพ ศรีสมวงศ์ เกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายสหสมภพ เดิมชื่อ สมภพ ศรีสมวงศ์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สหสมภพ ในปี พ.ศ. 2538 นายสหสมภพ ศรีสมวงศ์ เป็นโปรโมเตอร์และผู้จัดการนักมวยหลายราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักมวยสากล มีค่ายมวยเป็นของตนเองคือค่าย ".จิตรลดา" ซึ่งเป็นค่ายที่ฝึกสอนเฉพาะมวยสากลเพียงอย่างเดียว และเป็นผู้จัดการและผู้จัดการร่วมของนักมวยไทยหลายรายที่ได้เป็นแชมป์โลกจำนวนมาก เช่น พเยาว์ พูนธรัตน์, สด จิตรลดา, สามารถ พยัคฆ์อรุณ, นภา เกียรติวันชัย, สมาน ส.จาตุรงค์ เป็นต้น และเป็นผู้แทนของสภามวยโลก (WBC) ในประเทศไทยและเป็นผู้ก่อตั้งสภามวยแห่งเอเชีย (ABCO) ขึ้นมาด้วยในปี พ.ศ. 2542 โดยเริ่มต้นในวงการมวยด้วยการจัดมวยทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ร่วมกับ เทียมบุญ อินทรบุตร โปรโมเตอร์ชื่อดังในปี พ.ศ. 2513 ในทางสังคมและการเมือง นายสหสมภพเคยลงสมัครเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ประจำปี พ.ศ. 2540 ที่กรุงเทพมหานครด้วย แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง นอกจากนี้แล้วในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสหสมภพ ศรีสมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานผ่านพิภพลีลา

นผ่านพิภพลีลา เป็นสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมระหว่างถนนราชดำเนินในและถนนราชดำเนินกลาง บริเวณใกล้สนามหลวง ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สะพานผ่านพิภพลีลาในอดีต สะพานผ่านพิภพลีลาเดิมเป็นสะพานโค้งมีโครงเหล็ก ใน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสะพานผ่านพิภพลีลา · ดูเพิ่มเติม »

สัก กอแสงเรือง

ัก กอแสงเรือง สัก กอแสงเรือง (เกิด 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 ที่บางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีนฮกเกี้ยน) ปัจจุบันเป็นประธาน มูลนิธิองค์กรกลางเพื่อประชาธิปไตย (P-NET) กรรมการตรวจสอบมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นอกจากนี้ยังเป็นอาจารย์และวิทยากรรับเชิญ เคยเป็นนายกสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์หลายสมัย เคยเป็นนายกและเลขานุการสมาคมฮกเกี้ยนแห่งประเทศไทย เคยเป็นกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) ได้รับการแต่งตั้ง ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสัก กอแสงเรือง · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสันติ ทักราล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สื่อมวลชน

ื่อมวลชน (mass media) เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งหรือจากองค์กรหนึ่ง ไปยังมวลชนจำนวนมากโดยเฉพาะประชาชนทั้งประเทศ ในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตฯลฯ การเผยแพร่ในสื่อมวลชนส่วนหนึ่งต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลา ซื้อพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถใช้สื่อมวลชนแบบให้เปล่าได้ หากองค์กรนั้นมีเรื่องราวที่น่าสนใจแก่การเผยแพร่ หรือบังคับโดยข้อกฎหม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสื่อมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล นิติไกรพจน์

ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และ อดีตประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุรพล นิติไกรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สดศรี สัตยธรรม

นางสดศรี สัตยธรรม อดีตกรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านกิจการพรรคการเมือง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 ที่ย่านตลาดพลู จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรสาวคนที่ 12 ของ น.ขุนเจริญเวชธรรม หรือ เจริญ สัตยธรรม และนางปราณี ตุลยพานิช มีพี่น้องทั้งหมด 14 คน ปัจจุบันพี่น้องส่วนใหญ่ลงหลักปักฐานที่สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสดศรี สัตยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

หยุด แสงอุทัย

ตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (8 เมษายน พ.ศ. 2451 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2522) อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางสาขาวิชานิติศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไทย ศาสตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (นามเดิม สายหยุด แสงอุทัย) หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหยุด แสงอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 – 13 เมษายน พ.ศ. 2559) อดีตประธานศาลปกครองสูงสุด อดีตตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด อดีตรองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อดีตอาจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ เคยเป็นกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ รวมทั้งเป็นกรรมการร่วมยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณาทางปกครอง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล · ดูเพิ่มเติม »

อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ

ตราจารย์พิเศษ อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 -) องคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา (1 ต.ค. 2545 - 30 ก.ย. 2547) ประธานสมาคมกฎหมายอาเซียน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อักขราทร จุฬารัตน

ตราจารย์พิเศษ อักขราทร จุฬารัตน เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2483 สมรสกับนางสมจิต จุฬารัตน เมื่อ พ.ศ. 2511 เคยดำรงตำแหน่งระดับสูงในการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมทั้งดำรงตำแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดคนแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอักขราทร จุฬารัตน · ดูเพิ่มเติม »

อัยการสูงสุด

อัยการสูงสุด (ในระบบคอมมอนลอว์ใช้ attorney general; ในระบบซีวิลลอว์ใช้ prosecutor general หรือ advocate general) เป็นผู้นำที่ปรึกษากฎหมายของรัฐบาล และในบางเขตอำนาจ มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย ดำเนินคดีอาญา และรับผิดชอบคดีความโดยทั่วไปด้วย ขอบเขตอำนาจหน้าที่ในทางปฏิบัติของอัยการสูงสุดนั้นมักต่างกันไปในแต่ละท้องที่ ในบางประเทศ อัยการสูงสุดมีความรับผิดชอบระดับรัฐมนตรีในกิจการทางกฎหมายโดยทั่วไป เช่น กรณีของอัยการสูงสุดสหรัฐ และอัยการสูงสุดออสเตรเลีย ในบางประเทศ ตำแหน่งอัยการสูงสุดเทียบเท่ารัฐมนตรียุติธรรม แต่เดิม ชื่อตำแหน่ง "attorney general" นี้ใช้เรียกบุคคลที่ได้รับมอบอำนาจทั่วไป (general power of attorney) ให้ปฏิบัติการแทนผู้อื่นในกิจการทั้งปวง ในประเพณีฝ่ายคอมมอนลอว์ บุคคลใดที่เป็นผู้แทนของรัฐ โดยเฉพาะในการดำเนินคดีอาญา จะนับว่าเป็น attorney general และในอดีต เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ได้รับมอบอำนาจทั่วไปเป็นการถาวรก็เรียก attorney general แต่คำนี้เคยใช้เรียกเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบอำนาจเฉพาะบางกรณีเช่นกัน ปัจจุบัน ในท้องที่ส่วนใหญ่ ชื่อตำแหน่ง attorney general นี้จำกัดไว้เฉพาะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งเป็นการถาวรให้เป็นผู้แทนโดยทั่วไปของรัฐ องค์อธิปัตย์ หรือสมาชิกราชวง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอัยการสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

อาชญาวิทยา

อาชญาวิทยา (อังกฤษ: criminology) เป็นสาขาวิชาที่มุ่งศึกษาถึงการอธิบายสาเหตุของการกระทำความผิดของอาชญากร (ผู้กระทำผิด) ซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 3 สาเหตุหลักๆ คือ การกระทำความผิดที่เกิดจากปัจจัยทางชีวภาพ, การกระทำความผิดที่เกิดจากปัจจัยทางจิต และการกระทำความผิดที่เกิดจากปัจจัยทางสังคม อาชญาวิทยาเป็นสาขาสหวิทยาการของพฤติกรรมศาสตร์ที่ดึงเอางานวิจัยจากสังคมวิทยา จิตวิทยา จิตเวชศาสตร์ มานุษยวิทยาสังคม และนิติศาสตร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอาชญาวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้างฉัตร

ห้างฉัตร (50px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลำปาง เดิมชื่อว่า "อำเภอหางสัตว์" ต่อมาเปลี่ยนเป็น "ห้างฉัตร" ในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอำเภอห้างฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคลองหลวง

ลองหลวง เป็นอำเภอที่สำคัญอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี เพราะเป็นที่ตั้งขององค์กรสำคัญหลายแห่ง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอำเภอคลองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อิศริยา สายสนั่น

อิศริยา สายสนั่น หรือ เอ๊ะ (ชื่อเกิด: เกียรติญา โหมดลายคำ; เกิด: 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526) เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนอัมพรไพศาล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเซนต์ฟรังค์ซีสซาเวียร์ คอนแวนต์ แล้วจึงสอบเทียบ ม.6 ได้ ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และกำลังศึกษาต่อปริญญาเอก คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอิศริยา สายสนั่น · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศักดิ์ นิติมนตรี

นายอุดมศักดิ์ นิติมนตรี (เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2491) ประธานกรรมการสรรหา กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด (เคยย้ายไปดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ที่แต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครองสูงสุด เมื่อ 28 เมษายน 2549) และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุดอีกครั้ง เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2550.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอุดมศักดิ์ นิติมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

จรัล บูรณพันธุ์ศรี

นายจรัล บูรณพันธุ์ศรี อดีตกรรมการการเลือกตั้ง เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2485 และเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปอดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ด้วยอายุ 63 ปี ขณะอยู่ในตำแหน่งกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายสืบสวนสอบสวน ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจรัล บูรณพันธุ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จารุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม

รุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม (ชื่อเล่น: โดม) เป็นศิลปินชาวไทยชื่อเสียงดังในสังกัด เอ็กแซ็กท์ GMM Grammy มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ชนะเลิศรายการประกวดเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 8 ปัจจุบัน เป็นพิธีกรร่วมรายการ 4 โพดำ และมีผลงานแสดงออกมาต่อเนื่อง ทั้งงานพิธีกร นักร้อง นักแสดง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจารุวัฒน์ เชี่ยวอร่าม · ดูเพิ่มเติม »

จำรัส เขมะจารุ

ตราจารย์พิเศษ จำรัส เขมะจารุ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจำรัส เขมะจารุ · ดูเพิ่มเติม »

จิตติ ติงศภัทิย์

ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจิตติ ติงศภัทิย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

จงรัก จุฑานนท์

ล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์ พลตำรวจเอก จงรัก จุฑานนท์ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และอดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 เป็นหลานปู่ของหลวงบำราบประทุษฐ (นิล จุฑานนท์) เป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจงรัก จุฑานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาสตรบัณฑิต

รรมศาสตรบัณฑิต เป็นชื่อหลักสูตรการศึกษา ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ม.ธ.ก.) ซึ่งเปิดเป็นตลาดวิชา (ไม่มีการสอบเข้า) ผู้สำเร็จหลักสูตรนี้ จะได้รับปริญญาเรียกว่า ปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิต (ธ.บ.) หลักสูตรนี้เปิดสอนระหว่าง พ.ศ. 2477 จนถึง พ.ศ. 2491 ก่อนจะเปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัย เป็น ธรรมศาสตร์ ในเวลาต่อมา ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เมื่อแรกก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ตั้งแต..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธรรมศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธานินทร์ กรัยวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระจันทร์

นนพระจันทร์ ถนนพระจันทร์ (Thanon Phra Chan) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งต้นจากถนนหน้าพระธาตุไปสิ้นสุดลงที่ท่าพระจันทร์ ถนนพระจันทร์เป็นถนนที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช แต่มีลักษณะเป็นถนนพูนดินให้สูงขึ้นยังไม่เป็นลักษณะของการปูอิฐหรือมีทางระบายน้ำ ซึ่งลักษณะเช่นนี้เริ่มสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนพระจันทร์เป็นถนนเลียบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้าด้านทิศใต้ เริ่มต้นจากปลายถนนหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์บริเวณหน้าพระราชวังบวรสถานมงคลเลียบพระราชวังไปสู่แม่น้ำเจ้าพระยาด้านป้อมพระจันทร์ ชื่อถนนพระจันทร์มาจากชื่อป้อมพระจันทร์บนกำแพงเมืองด้านริมแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งต่อมาได้ถูกรื้อไป ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนเดิมให้กว้างขึ้น ทรงเริ่มสร้างถนนใหม่รอบพระบรมมหาราชวัง และถนนเลียบกำแพงพระนครด้านในจนเชื่อมถึงกัน เริ่มจากถนนเดิมคือ ถนนพระจันทร์ไปถนนพระอาทิตย์ ถนนพระสุเมรุ ถนนมหาไชย ถนนจักรเพชร และถนนมหาราช ซึ่งชื่อถนนเหล่านี้มาจากชื่อป้อมบนกำแพงพระนครทั้งสิ้น ถนนพระจันทร์ เป็นถนนสายเล็ก ๆ ขนาบไปกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้านท้องสนามหลวงกับกำแพงวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ริมสองฟากถนนเป็นแหล่งรวมของการเช่าขายพระเครื่อง และวัตถุมงคลต่าง ๆ ในแบบแบกะดิน รวมถึงหมอดูด้ว.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และถนนพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย (True Academy Fantasia) (เดิมชื่อ ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย) (UBC Academy Fantasia) หรือ ปฏิบัติการล่าฝัน เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์เพื่อค้นหานักล่าฝันที่ได้รับความนิยมสูงสุด บริษัท ทรู วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)ซื้อลิขสิทธิ์และรูปแบบของรายการ La Academia จากประเทศเม็กซิโก ซึ่งมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกับรายการ Star Academy ที่แพร่หลายไปทั่วโลกแต่ปรับเปลี่ยนมาเป็นเรียลลิตี้ 24 ชั่วโมง เป็นลำดับที่ 3 ถัดจากมาเลเซียและอินโดนีเซี.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2 (ชื่อเดิม: ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ ทางทรูวิชั่นส์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 กรกฎาคม - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ออกอากาศ 12 สัปดาห์ ซึ่งเป็นการจัดต่อเนื่องมาจากความสำเร็จอันเกินคาดของฤดูกาลก่อนหน้า คัดเลือกนักล่าฝัน 12 คน จากทั่วประเทศ เพื่อเข้าร่วมฝึกฝนทักษะการร้องเพลงและแสดงโชว์ภายในบ้าน และแสดงคอนเสิร์ตโจทย์เพลงที่ได้รับแต่ละสัปดาห์ทุกคืนวันเสาร์ ตัดสินผู้ชนะผ่านทางผลโหวต SMS.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ทวีป วรดิลก

ทวีป วรดิลก (25 สิงหาคม พ.ศ. 2471 - 8 เมษายน พ.ศ. 2548) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทวีป วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 2 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 ภายในการนำของหลวงดำริอิสรานุวรรตน์ ในระยะเริ่มแรกได้ก่อตั้งเป็น “แผนกวิชาการบัญชี” โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ณะกรรมการกฤษฎีกา (Council of State) เป็นคณะกรรมการกฤษฎีกาแห่งประเทศไทย ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจพิจารณาร่างกฎหมายและยกร่างกฎหมาย กับทั้งให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการกฤษฎีกามีสำนักงานเลขานุการคือ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ

ณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (ชื่อย่อ คตส.) เป็นคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ในเรื่องที่ได้กระทำการให้รัฐเสียหายเฉพาะรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเท่านั้น ตั้งขึ้นตาม ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 ลงวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิชา

ณะวิชา หรือเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า คณะ เป็นองค์กรในสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนและให้บริการความรู้เกี่ยวกับวิชาการสาขาที่อยู่ในประเภทเดียวกัน มีหัวหน้าองค์กรเรียก "คณบดี" บางแห่งเรียก "สำนักวิชา" "สาขาวิชา" หรือ "วิทยาลัย" แทน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะวิชา · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นส่วนงานประเภทคณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 164 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2515 มีรากฐานมาจากโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ที่โอนมาเป็นคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์เริ่มดำเนินการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ปริญญาโท และปริญญาเอก คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ ได้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หลักสูตรทุกหลักสูตรทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม และเพื่อสนองตอบต่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน โดยจะเน้นหนักการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่มีความรอบรู้ในกฎหมาย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณิต ณ นคร

ตราจารย์พิเศษ คณิต ณ นคร อดีตประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ หรือ คอป.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณิต ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

คตส.

ำสำคัญ "คต." อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคตส. · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันไฟฟ์

ซีซันไฟฟ์ (Season Five) คือกลุ่มดนตรีจากค่าย มีเรคคอร์ดส ปัจจุบันวงมีสมาชิก 4 คน ซึ่งเป็นเพื่อนเรียนที่ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เป็นมาด้วยกันตั้งแต่สมัยประถมศึกษาปีที่ 11 ซีซันไฟฟ์ได้มีผลงานครั้งแรกกับ Einstein by Matching Group โดยมีแม็ก จาก Acappella 7 เป็นโปรดิวเซอร์ หลังจากนั้นมีเพลง พูดไม่คิด ซึ่งได้ Fuckling Hero มาร่วมงานด้วยโดยมี เหมือนเพชร อำมะระ หรือ โจ แพนเค้ก เป็นโปรดิวเซอร์ให้ ปัจจุบัน Season Five ได้สังกัดค่าย มีเรคคอร์ดส โดยก่อนหน้านั้น (ค่าย วีเรคคอร์ดส) ซึ่งมีเพิ่มศักดิ์ พิสิษฐ์สังฆกร หรือโอ๊บ วงไทม์ เป็นโปรดิวเซอร์ โดยมีผลงานออกมาเช่น Event, แหลก, ราตรีร้อนรัก, กลืน, วู่วาม เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และซีซันไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประภาศน์ อวยชัย

ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประภาศน์ อวยชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ ชันซื่อ

ประมาณ ชันซื่อ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประมาณ ชันซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประสพสุข บุญเดช

ตราจารย์พิเศษ ประสพสุข บุญเดช อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานศาลอุทธรณ์ และอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกฎหมายครอบครัว-ทรัพย์สินทางปัญญา และอาจารย์ด้านนิติศาสตร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประสพสุข บุญเดช · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ นาสกุล

นายประเสริฐ นาสกุล อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2474 ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเสริฐ นาสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญญา เทวานฤมิตรกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง นักวิชาการกฎหมายชาวไทย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและความยั่งยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มักแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในแง่มุมกฎหมายตามสื่อต่าง ๆ เสมอ ๆในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 มีบทบาทเป็นเลขาธิการสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.) แต่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์เมื่อทหารปราบประชาชนในวันที่ 18-20 พฤษภาคม และการชุมนุมที่ลาน สวป.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปริญญา เทวานฤมิตรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี เกษมทรัพย์

ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปรีดี เกษมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา ถนอมรอด

นายปัญญา ถนอมรอด (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 -) อดีตประธานศาลฎีกา(คนแรกของไทยที่เกิดรัชกาลที่ 9) และอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ภาค 1 และกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปัญญา ถนอมรอด · ดูเพิ่มเติม »

ปาล พนมยงค์

ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปาล พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยมอบให้แก่นักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง ในกลุ่มวิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่มและเป็นผลงานวิจัยที่ทำสะสมกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นได้ ในอันที่จะทุ่มเทกำลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศชาต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

นิติศาสตรบัณฑิต

นิติศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Laws; Legum Baccalaureus) หรือย่อว่า น.. (LL.B., LL.) เป็นปริญญาระดับบัณฑิตทางนิติศาสตร์ซึ่งกำเนิดในประเทศอังกฤษ และประเทศที่ใช้กฎหมายระบบคอมมอนลอว์มักให้เป็นปริญญาชั้นแรกในทางนิติศาสตร์ ก่อนจะถึงนิติศาสตรมหาบัณฑิตและนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตตามลำดับJohn H. Langbein, “Scholarly and Professional Objectives in Legal Education: American Trends and English Comparisons,” Pressing Problems in the Law, Volume 2: What are Law Schools For?, Oxford University Press, 1996.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนิติศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนิติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

แก้วสรร อติโพธิ

นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และแก้วสรร อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

โกเมน ภัทรภิรมย์

ตราจารย์ โกเมน ภัทรภิรมย์ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตอัยการสูงสุดของไทย แฃะอดีตกรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบบริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) จำกั.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโกเมน ภัทรภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ รัตนากร

ตราจารย์พิเศษ โสภณ รัตนากร (เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2474)เป็นที่ปรึกษาในศาลฎีกา ประธานศาลฎีกาคนที่ 26 อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม ฯลฯ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโสภณ รัตนากร · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส อรุณินท์

อภาส อรุณินท์ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร) อดีตอัยการสูงสุด อดีตประธานคณะกรรมการอัยการ อดีตประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีชื่อเสียงมากในช่วงที่พิจารณาบัญชีทรัพย์สินของนักการเมือง โดยเฉพาะกรณีที่ ป.ป..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโอภาส อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ วายุภาพ

ตราจารย์พิเศษ ไพโรจน์ วายุภาพ (19 กันยายน พ.ศ. 2493 -) อดีตประธานศาลฎีกา,ศาสตราจารย์พิเศษในสาขาวิชากฎหมายแพ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนั้น ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นกรรมการกฤษฎีกาตั้งแต..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และไพโรจน์ วายุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์

ลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษาผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บก.ปส.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงกันยายน พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสาวนีย์ อัศวโรจน์

ตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ สกุลเดิม สุจริตกุล (เกิด 15 มิถุนายน พ.ศ. 2495) หนึ่งในตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2546 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ศาสตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย ศาสตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ หรือที่รู้กันในนาม ศาสตราจารย์ ดร.เสาวนีย์ อัศวโรจน์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสาวนีย์ อัศวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

เจษฎ์ โทณวณิก

รศ.ดร.เจษฏ์ โทณะวณิก รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎ์ โทณะวณิก เป็นนักวิชาการทางกฎหมาย และพิธีกรรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับประเด็นทางบ้านเมือง สังคม เป็นชาวไทย-เอลซัลวาดอร์ (ละตินอเมริกา) จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท (Master of the Science of Law) (JSM) และปริญญาเอกทางกฎหมาย (Doctor of the Science of Law) (JSD) จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา ด้วยอายุเพียง 25 ปี และเป็นสมาชิกเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 59 ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เป็นที่รู้จักจากการมักให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวกับบ้านเมืองตามสื่อต่าง ๆ เคยเป็นพิธีกรรายการเล่าข่าวเช้าทางช่อง 11 คู่กับนายแทนคุณ จิตต์อิสระ ช่วงหนึ่ง และเคยเป็นวิทยากรรายการ "ช่วยคิด ช่วยทำ" ทางช่อง 3 คู่กับ ร.สุขุม นวลสกุล โดยมี ศิริบูรณ์ ณัฐพันธุ์ เป็นพิธีกร ชีวิตส่วนตัว มีสำนักงานกฎหมายส่วนตัวชื่อ สำนักกฎหมายมโนทัย-เจษฎ์ แอนด์ แอสโซสิเอทส์ สถานภาพสมรสแล้ว มีบุตรสองคน ชื่อ กษิดิศและกษิณา กิจกรรมยามว่างชอบเดินป่าและขี่จักรยานเสือภูเขา ชื่นชอบการอ่านนิยายกำลังภายในของกิมย้ง และเคยได้รับรางวัล "เปรียว อวอร์ด 2005" ในฐานะที่เป็นบุคคลที่ประสบความสำเร็จในชีวิตการงาน และเป็นที่รู้จักของสังคม หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 นาย เจษฎ์ โทณวณิก ได้รับการแต่งตั้งจาก คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ให้เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเจษฎ์ โทณวณิก · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

นาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปีพุทธศักราช 2536 กวีรางวัลซีไรต์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เนติบัณฑิต

ียนเนติบัณฑิตชาวอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เนติบัณฑิต (barrister, barrister-at-law, หรือ bar-at-law) เป็นนักกฎหมาย (lawyer) ประเภทหนึ่งในเขตอำนาจคอมมอนลอว์ ซึ่งส่วนใหญ่เชี่ยวชาญการว่าความและดำเนินคดีในโรงศาล ปฏิบัติงานเป็นต้นว่า ฟ้องและอุทธรณ์คดี ร่างเอกสารทางกฎหมาย วิจัยทางนิติศาสตร์ นิติปรัชญา หรือนิติประวัติศาสตร์ และให้ความเห็นทางกฎหมาย อนึ่ง ยังมักถือเป็นนักนิติศาสตร์ (jurist) ด้วย ในเขตอำนาจคอมมอนลอว์ เนติบัณฑิตต่างจากทนายความที่ปรึกษา (solicitor) ซึ่งเข้าถึงลูกความได้โดยตรงกว่า และมักดำเนินงานประเภทธุรกรรมทางกฎหมาย ขณะที่เนติบัณฑิตมักได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการ และน้อยครั้งที่จะรับว่าจ้างจากลูกความโดยตรง ในระบบกฎหมายบางอย่าง เช่น ของสกอตแลนด์ อเมริกาใต้ สแกนดิเนเวีย ปากีสถาน อินเดีย บังกลาเทศ เจอร์ซีย์ เกิร์นซีย์ และไอล์ออฟแมน ยังใช้คำว่า เนติบัณฑิต เป็นคำนำหน้าชื่อด้วย ในบางเขตอำนาจ มีการห้ามเนติบัณฑิตดำเนินคดี และกำหนดให้ต้องปฏิบัติงานตามคำสั่งของทนายที่ปรึกษาอาวุโสเท่านั้น โดยทนายความที่ปรึกษาจะรับหน้าที่ประสานระหว่างคู่ความและศาล รวมถึงจัดทำเอกสารทางศาล ส่วนในอังกฤษและเวลส์ เนติบัณฑิตอาจได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานเนติบัณฑิตยสภา (Bar Standards Board) ให้ดำเนินคดีได้ การอนุญาตเช่นนี้ทำให้เนติบัณฑิตมีบทบาทซ้อนสอง คือ เป็นทั้งเนติบัณฑิตและทนายความ ในบางประเทศที่ใช้ระบบคอมมอนลอว์ เช่น นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย นักกฎหมายสามารถเป็นได้เนติบัณฑิตและทนายความ แต่คุณสมบัติสำหรับเนติบัณฑิตจะแยกต่างจากสำหรับทนายความ.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเนติบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์

right เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปภัมภ์ เป็นองค์การอิสระ ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิต..

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »