เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล vs. รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีชื่อว่า คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2511 เพื่อเพิ่มจำนวนทันตแพทย์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในขณะนั้น คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท เลขที่ 6 ถนนโยธี เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์คณะที่ 2 โดยขยายมาจากคณะทันตแพทยศาสตร์คณะแรกที่ถนนอังรีดูนังต์ ต่อมาในวันที่ 2 มีนาคม 2512 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหิดล อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยมหิดลแทน ชื่อเดิมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ชื่อของ คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล.. ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาวิทยาลัยมหิดลสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 มีฐานะเป็นแผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยแต่งตั้งให้ศาสตราจาร.อ.หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกอิสระคนแรกและต่อมาได้ดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรกเช่นกัน ปี 2559 คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์อันดับ 1 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ QS World University Rankings by Subject 2016.

คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 957 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 0.51% = 5 / (32 + 957)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: