โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขายหัวเราะและมหาสนุก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ขายหัวเราะและมหาสนุก

ขายหัวเราะ vs. มหาสนุก

ปกหนังสือขายหัวเราะ สมัยราคา 12 บาท ผลงานของวัฒนา เพ็ชรสุวรรณ ขายหัวเราะ เป็นชื่อของนิตยสารการ์ตูนไทยรายสัปดาห์ จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น ภายใต้การบริหารงานของ วิธิต อุตสาหจิต และเป็นหนังสือการ์ตูนที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเล่มหนึ่งในประเทศไทย ควบคู่ไปกับนิตยสารมหาสนุก ซึ่งจัดพิมพ์โดยบรรลือสาส์นเช่นกัน เริ่มตีพิมพ์ฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2516 ในเวลาต่อมา ทางบันลือกรุ๊ป ได้ใช้งบ 10 ล้านบาทสำหรับการจัดทำขายหัวเราะในรูปแบบอีแม็กกาซีน โดยเวอร์ชันทดลองแรกเริ่ม มียอดดาวน์โหลดกว่า 2 หมื่นครั้ง ภายในช่วงระยะเวลา 4 วัน นอกจากนี้ ขายหัวเราะยังจัดเป็นนิตยสารการ์ตูนไทยที่สามารถทำยอดขายได้กว่าล้านเล่มของแต่ละเดือนสามทหาร. ปกนิตยสารมหาสนุก ฉบับที่ 929 ประจำวันที่ 14-21 มกราคม พ.ศ. 2552 ภาพปกโดย สุพล เมนาคม (ต้อม) มหาสนุก เป็นนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูงเล่มหนึ่งในประเทศไทย จัดพิมพ์และจัดจำหน่ายโดยสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เริ่มตีพิมพ์ฉบับแรกในปี พ.ศ. 2518 หลังจากที่ก่อนหน้านั้นบรรลือสาส์นได้ออกนิตยสารขายหัวเราะในปี พ.ศ. 2516 และได้ประสบความสำเร็จอย่างสูง โดยมีวิธิต อุตสาหจิต เป็นบรรณาธิการ รูปแบบและเนื้อหาของนิตยสารมหาสนุกนั้นคล้ายคลึงกับนิตยสารขายหัวเราะ กล่าวคือ เน้นการตีพิมพ์การ์ตูนแก๊กเป็นหลัก (โดยทีมงานนักเขียนการ์ตูนในนิตยสารเล่มนี้ใช้ทีมเดียวกับที่เขียนในขายหัวเราะ) เนื้อหาอาจเป็นได้ทั้งเรื่องราวในชีวิตประจำวัน เศรษฐกิจ การเมือง หรือกระแสความนิยมต่างๆ ในสังคมไทยและต่างประเทศ มีการตีพิมพ์ขำขัน ภาพตลกจากต่างประเทศ สาระน่ารู้ต่างๆ แต่ส่วนที่ต่างไปจากขายหัวเราะคือ การตีพิมพ์เรื่องสั้นในมหาสนุกนั้นจะตีพิมพ์เพียงเรื่องเดียวต่อฉบับ และมีการ์ตูนเรื่องสั้นหรือนิยายภาพชุดต่างๆ จากฝีมือของนักเขียนการ์ตูนบรรลือสาส์นลงพิมพ์ฉบับละ 2 เรื่อง ในท้ายเล่มยังมีเกมชิงรางวัลรูปแบบต่างๆ และการตอบจดหมายของผู้อ่านโดยนักเขียนการ์ตูน (ปัจจุบันได้มีการเลิกตีพิมพ์หน้าตอบจดหมายแล้ว) จากนั้นได้เพิ่มอีก 3 เกม อย่างเช่น "คิดดีๆ มีรางวัล" "ตาไวๆ ได้รางวัล" และ "ปริศนาอักษรไขว์" เฉพาะการ์ตูนเรื่องสั้นซึ่งตีพิมพ์ในนิตยสารมหาสนุกนั้น การ์ตูนชุดใดที่ได้รับความนิยมจากผู้อ่านมากก็จะได้รับการตีพิมพ์เป็นนิตยสารรวมเล่มในชื่อชุด "มหกรรมมินิซีรีส์" เริ่มพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2535 ซึ่งการ์ตูนบางชุดก็ยังคงได้รับความนิยมจากผู้อ่านมาอย่างต่อเนื่องและมีการตีพิมพ์ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เช่น การ์ตูนชุด "ไอ้ตัวเล็ก" ของภักดี แสนทวีสุข การ์ตูนชุด "บ้าครบสูตร" และ "สาวดอกไม้กะนายกล้วยไข่" ของอารีเฟน ฮะซานี เป็นต้น แม้ว่าผู้เขียนจะไม่ได้นำการ์ตูนเรื่องสั้นชุดของตนเองลงพิมพ์ในนิตยสารมหาสนุกแล้วก็ตาม ส่วนขนาดรูปเล่มของมหาสนุก ในสมัยเริ่มแรกมีรูปเล่มขนาดใหญ่เท่ากระดาษ A4 เช่นเดียวกับขายหัวเราะ ต่อมาในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2532 จึงได้เริ่มปรับขนาดหนังสือให้เล็กลง โดยใช้ชื่อหนังสือเล่มเล็กว่า "มหาสนุกฉบับกระเป๋า" มีขนาดเท่ากระดาษ B5 ซึ่งเป็นขนาดของหนังสือมหาสนุกในปัจจุบัน ส่วนมหาสนุกเล่มใหญ่ยังคงทยอยออกมาอีกระยะหนึ่งจึงเลิกจัดพิมพ์ กำหนดการออกนิตยสารนั้นเดิมกำหนดออกเป็นรายปักษ์ (ราย 15 วัน) ภายหลังจึงปรับให้ออกเป็นรายสิบวัน และรายสัปดาห์ตามลำดับพร้อมกับขายหัวเราะ โดยขายหัวเราะมีกำหนดออกในวันอังคาร ส่วนมหาสนุกออกจำหน่ายในวันศุกร์ ต่อมาจึงปรับกำหนดออกอีกครั้งให้เป็นวันพุธทั้งสองฉบับ และปรับราคาจำหน่ายของมหาสนุกในปี (พ.ศ. 2552) อยู่ที่เล่มละ 15 บาท ปัจจุบัน (พ.ศ. 2560) มหาสนุก ได้ปรับการวางแผงเป็นรายเดือน และปรับราคาอยู่ที่ เล่มละ 20 บาท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ขายหัวเราะและมหาสนุก

ขายหัวเราะและมหาสนุก มี 20 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2516พ.ศ. 2532พ.ศ. 2535พ.ศ. 2552พ.ศ. 2560ภักดี แสนทวีสุขวิธิต อุตสาหจิตศุภมิตร จันทร์แจ่มสามก๊ก มหาสนุกสำนักพิมพ์บรรลือสาส์นสุชาติ พรหมรุ่งโรจน์สุพล เมนาคมสตรีทบอลสะท้านฟ้าหนูหิ่น อินเตอร์อารีเฟน ฮะซานีผดุง ไกรศรีจักรพันธ์ ห้วยเพชรณรงค์ จรุงธรรมโชติปังปอนด์นิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ขายหัวเราะและพ.ศ. 2516 · พ.ศ. 2516และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ขายหัวเราะและพ.ศ. 2532 · พ.ศ. 2532และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ขายหัวเราะและพ.ศ. 2535 · พ.ศ. 2535และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ขายหัวเราะและพ.ศ. 2552 · พ.ศ. 2552และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ขายหัวเราะและพ.ศ. 2560 · พ.ศ. 2560และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

ภักดี แสนทวีสุข

ักดี แสนทวีสุข หรือ '''ต่าย ขายหัวเราะ''' ตัวละครของภักดี แสนทวีสุข (วาดโดยตนเอง) ภักดี แสนทวีสุข หรือ ต่าย ขายหัวเราะ นักเขียนการ์ตูนไทยสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น ผู้เป็นส่วนหนึ่งในการบุกเบิกหนังสือการ์ตูนขายหัวเราะและมหาสนุก และเป็นเจ้าของผลงานชุด "ปังปอนด์" ในปัจจุบันออกแบบประเทศไท.

ขายหัวเราะและภักดี แสนทวีสุข · ภักดี แสนทวีสุขและมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

วิธิต อุตสาหจิต

วิธิต อุตสาหจิต (Vithit Utsahajit) บรรณาธิการหนังสือการ์ตูนในเครือบรรลือสาส์น ผู้ก่อตั้งนิตยสารขายหัวเราะและมหาสนุก และผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง ผีหัวขาด เขายังเป็นผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชั่นสามมิติเป็นผู้แรกในประเทศไทย มีผู้ให้สมญานามแก่เขาว่า “ราชาแห่งการ์ตูนไทย” ในยุคปัจจุบัน แฟนการ์ตูนบรรลือสาส์นรู้จักกันดีในนาม “.ก.วิติ๊ด”.

ขายหัวเราะและวิธิต อุตสาหจิต · มหาสนุกและวิธิต อุตสาหจิต · ดูเพิ่มเติม »

ศุภมิตร จันทร์แจ่ม

มิตร จันทร์แจ่ม หรือ ปุ๋ย เดวิล เป็นนักเขียนการ์ตูนในสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เกิดวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 ที่ จังหวัดกาญจนบุรี จบการศึกษาจาก วิทยาเขต เพาะช่าง (ราชมงคล) กรุงเทพ เข้าสู่วงการการ์ตูนโดยเขียนการ์ตูนให้กับนิตยสารสวนเด็ก หนูจ๋า เบบี้ ขายหัวเราะ และ มหาสนุก ของสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เมื่อ พ.ศ. 2531 โดยเขียนการ์ตูนตลก 3 ช่อง (ตีพิมพ์ทั้งขายหัวเราะ มหาสนุก สวนเด็ก) รวมทั้งการ์ตูนเรื่องสั้นในตอน ชุด สติแตก...สุดขอบฟ้า! ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในมหาสนุกเล่มใหญ่ ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 และรวมเล่มในปี 2539 และยังเขียนเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน และยังมีเรื่องสั้นชุดอื่นๆอีกมากมายเช่น ผี! วิญญาณและความผูกพัน เค้าโครงจากเหม เวชกร ซึ่งขณะนี้ ปุ๋ย เดวิล ก็ได้เขียนการ์ตูนเรื่องสั้นขายทางออนไลน์ ในชุด ผี! OUT OF CONTROL และ การ์ตูนเรื่องสั้น ซีรีส์ หิมพานต์ New Generation อีกด้วยครั....

ขายหัวเราะและศุภมิตร จันทร์แจ่ม · มหาสนุกและศุภมิตร จันทร์แจ่ม · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก มหาสนุก

มก๊ก มหาสนุก เป็นงานเขียนการ์ตูนเรื่องยาวจากวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่อง สามก๊ก (แต่งโดย หลอกว้านจง) โดย สุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ (หมู นินจา) ตีพิมพ์ในนิตยสารมหาสนุกตั้งแต่ พ.ศ. 2548 จนถึง พ.ศ. 2550 ได้พิมพ์รวมเล่มเป็นการ์ตูนสีรวมทั้งหมด 45 เล่ม และบริษัทวิธิตาได้นำเรื่องสามก๊กมาสร้างเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นมาแล้ว 2 ภาค ออกฉายทางช่อง 7 ล่าสุดได้รับการแปลเป็นภาษาเกาหลีแล้ว ซึ่งจัดจำหน่ายโดย บริษัท พีเอ็มจี โฮลดิ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด และบริษัท ซัมซุง บุ๊ค พับลิเชอร์ สามก๊ก มหาสนุกที่เป็นหนังสือการ์ตูนนั้น ใช้ชื่อว่า "การ์ตูนมหาสนุก ฉบับ สามก๊ก" ส่วนสามก๊ก มหาสนุกที่เป็นการ์ตูนแอนิเมชันนั้นใช้ชื่อว่า "สามก๊ก มหาสนุก".

ขายหัวเราะและสามก๊ก มหาสนุก · มหาสนุกและสามก๊ก มหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพิมพ์บรรลือสาส์น

หัวเราะ หนึ่งในนิตยสารการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของบรรลือสาส์น วิธิต อุตสาหจิต สำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นสำนักพิมพ์ที่มีบทบาทในด้านการ์ตูนไทย จากการจัดพิมพ์นิยายชุดและหนังสือการ์ตูนยอดนิยมหลายชุดทั้งในอดีตและปัจจุบัน เช่น หัสนิยายชุด พล นิกร กิมหงวน ขายหัวเราะ มหาสนุก ปังปอนด์ หนูหิ่นอินเตอร์ เป็นต้น และเป็นผู้บุกเบิกการทำภาพยนตร์แอนิเมชั่น 3 มิติ เป็นรายแรกของประเทศไท.

ขายหัวเราะและสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น · มหาสนุกและสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ พรหมรุ่งโรจน์

ติ พรหมรุ่งโรจน์ (หมู นินจา) สุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ เป็นนักเขียนการ์ตูนในสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น ผู้เป็นที่รู้จักกันในนามปากกา "หมู นินจา" เจ้าของผลงานการ์ตูนชุด บ้านนี้ 4 โชะ กระบี่หยามยุทธภพ และสามก๊ก มหาสนุก.

ขายหัวเราะและสุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ · มหาสนุกและสุชาติ พรหมรุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุพล เมนาคม

ผลงานของสุพล เมนาคม (ต้อม) ที่มีอย่างสม่ำเสมอ คือการเขียนปกนิตยสารมหาสนุก (ในภาพ เป็นปกนิตยสารมหาสนุก ฉบับที่ 929 ประจำวันที่ 14-21 มกราคม พ.ศ. 2552) สุพล เมนาคม (13 ตุลาคม พ.ศ. 2502 — 21 มกราคม พ.ศ. 2561) เจ้าของนามปากกา "ต้อม" (หรือที่เรียกทั่วไปว่า ต้อม ขายหัวเราะ) เป็นนักเขียนการ์ตูนไทยสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์นผู้มีลายเส้นและสีสันที่งดงามคนหนึ่งของเมืองไทย เขาเป็นผู้วาดปกนิตยสารมหาสนุก และเป็นเจ้าของตัวการ์ตูนที่มีชื่อเสียงอย่าง "ไก่ย่างวัลลภ" ซึ่งต่อมาได้มีการนำมาดัดแปลงเป็นการ์ตูนเรื่องสั้นชุด "วิลลี่ เดอะ ชิกเก้น".

ขายหัวเราะและสุพล เมนาคม · มหาสนุกและสุพล เมนาคม · ดูเพิ่มเติม »

สตรีทบอลสะท้านฟ้า

"จักรพันธ์ ห้วยเพชร" ผู้เขียน สตรีทบอลสะท้านฟ้า (Super Dunker) เป็นการ์ตูนไทย ผลงานของ "ต้น" จักรพันธ์ ห้วยเพชร ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์มหาสนุก จัดพิมพ์โดยบันลือบุ๊คส์ เป็นการ์ตูนแนวกีฬาที่ให้ความรู้เรื่องกีฬาบาสเกตบอล ปัจจุบันมีการตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มแล้ว 12 เล่ม นอกจากนี้ยังมีภาค 2 ออกมาอีก จำนวน 3 เล่ม สตรีทบอลสะท้านฟ้าได้รับรางวัล Gold Award ซึ่งเป็นรางวัลชนะเลิศจากการประกวด "รางวัลการ์ตูนนานาชาติ" ครั้งที่ 3 (3rd International MANGA Award) จัดโดยกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยมี นายโคอิชิ ทาเคมาสะ (Mr.Koichi Takemasa) State Secretary for Foreign Affairs ของญี่ปุ่นเป็นผู้มอบรางวัล โดยที่คณะกรรมการตัดสินมีความเห็นว่าเนื้อหาของการ์ตูนเรื่องนี้ให้ความหวังแก่เด็กและเยาวชน เนื่องจากตัวละครหลักของเรื่องพยายามเอาชนะสถานการณ์เลวร้ายต่างๆ ที่เขาต้องเผชิญ ทั้งนี้ "จักรพันธ์ ห้วยเพชร" ผู้เขียน จึงถือได้ว่าเป็นนักวาดการ์ตูนชาวไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลนี้ นอกจากนี้นักวาดการ์ตูนชาวไทยยังได้รับรางวัลอีกท่าน คือ "พงษ์พัฒน์ เพชรรัตน์" ได้รับรางวัลชมเชยจากเรื่อง "กองอาทมาตประกาศศึก".

ขายหัวเราะและสตรีทบอลสะท้านฟ้า · มหาสนุกและสตรีทบอลสะท้านฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

หนูหิ่น อินเตอร์

หนูหิ่น...อินเตอร์ เป็นผลงานชุดการ์ตูนเรื่องสั้นของ ผดุง ไกรศรี หรือ "เอ๊าะ" ตีพิมพ์ตอนแรกลงในหนังสือการ์ตูน มหาสนุก ฉบับที่ 156 (ฉบับกระเป๋าในช่วงต้นปี พ.ศ. 2538) ต่อมาได้มีการตีพิมพ์รวมเล่มเมื่อ พ.ศ. 2539 โดยออกเป็นนิตยสารรายสะดวกในช่วงแรกและออกรายเดือนตั้งแต่ฉบับที่ 21 เป็นต้นมา ต่อมาได้นำกลับมารวมเล่มในชื่อ หนูหิ่นสเปเชียล วางแผงเป็นรายสะดวก ปัจจุบันมีออกมาทั้งสิ้น 4 เล่ม ภายหลังทางสำนักพิมพ์ได้รวมเล่มออกมาอีกครั้งในชื่อ หนูหิ่น in the city ประกอบไปด้วยหนูหิ่น 4 ตอนที่เคยลงในหนูหิ่น...อินเตอร์นำมาพิมพ์ 4 สีทั้งเล่ม นอกจากนี้ยังได้มีการรวมเล่มการ์ตูน หนูหิ่นอินโนนหินแห่ ซึ่งเป็นเรื่องราวของหนูหิ่นในวัยเด็กอีกด้วย การ์ตูนชุดหนูหิ่นที่กล่าวไปได้รับความนิยม โดยเฉพาะชาวกรุงเทพและชาวอีสานที่ตั้งถิ่นฐานตามที่ต่างๆ ทั่วประเทศ จนมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ หนูหิ่น เดอะ มูฟวี่ ใน พ.ศ. 2549 ปัจจุบันหนูหิ่น...อินเตอร์ ได้วางจำหน่ายฉบับเป็นเดือนเว้นเดือน.

ขายหัวเราะและหนูหิ่น อินเตอร์ · มหาสนุกและหนูหิ่น อินเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อารีเฟน ฮะซานี

อารีเฟน ฮะซานี (เฟน สตูดิโอ) อารีเฟน ฮะซานี หรือในนามปากกา เฟน สตูดิโอ (เกิด 17 มิถุนายน พ.ศ. 2500) นักเขียนการ์ตูนชาวไทย ประจำสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น ในหนังสือการ์ตูนมหาสนุก สาวดอกไม้กะนายกล้วยไข่ รามาวตาร และ ศึกมหาภารต.

ขายหัวเราะและอารีเฟน ฮะซานี · มหาสนุกและอารีเฟน ฮะซานี · ดูเพิ่มเติม »

ผดุง ไกรศรี

ผดุง ไกรศรี หรือ เอ๊าะ เป็นนักเขียนการ์ตูนในสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เจ้าของผลงานการ์ตูนชุด หนูหิ่น อินเตอร์ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างสูงจนได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2549.

ขายหัวเราะและผดุง ไกรศรี · ผดุง ไกรศรีและมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธ์ ห้วยเพชร

ตรีทบอลสะท้านฟ้า จักรพันธ์ ห้วยเพชร เป็นนักเขียนการ์ตูนชาวไทย และมีผลงานสร้างชื่ออย่าง "สตรีทบอลสะท้านฟ้า" (Super Dunker) ที่ทำให้เขาได้รับรางวัลชนะเลิศโกลด์อะวอร์ด จากอินเตอร์เนชั่นแนล มังงะอะวอร์ด ครั้งที่ 3 ที่จัดขึ้นโดยกระทรวงการต่างประเทศ ประเทศญี่ปุ่น ในพ.ศ. 2552 โดยมีการ์ตูนทั้งหมด 303 เรื่อง จาก 55 ประเทศทั่วโลกที่เข้าร่วมประกวดในปีดังกล่าว นอกจากนี้เขายังมีผลงานหนังสือการ์ตูน "Flyff COMIC!" ที่มีต้นฉบับมาจากเกม "ฟลิฟ ออนไลน์" ซึ่งเป็นเกมออนไลน์ จากเกาหลีใต้ จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และมีงานเขียนสารคดีกึ่งอัตชีวประวัติที่มีชื่อว่า "บุกเมืองมังงะ" จัดพิมพ์โดยบันลือกรุ๊ป อันเป็นเรื่องราวที่กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เขาเดินทางไปประเทศญี่ปุ่น.

ขายหัวเราะและจักรพันธ์ ห้วยเพชร · จักรพันธ์ ห้วยเพชรและมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ จรุงธรรมโชติ

ณรงค์ จรุงธรรมโชติ หรือ ขวด นักเขียนการ์ตูนชาวไทย มีผลงานการ์ตูนลงในขายหัวเราะและมหาสนุก และหนังสือพิมพ์เดลินิว.

ขายหัวเราะและณรงค์ จรุงธรรมโชติ · ณรงค์ จรุงธรรมโชติและมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

ปังปอนด์

ปังปอนด์ เป็นชื่อชุดการ์ตูนไทยซึ่งเป็นผลงานของ ภักดี แสนทวีสุข (ต่าย ขายหัวเราะ) เดิมใช้ชื่อการ์ตูนชุดนี้ว่า ไอ้ตัวเล็กแสตมป์น่าสนใจในอดีต.

ขายหัวเราะและปังปอนด์ · ปังปอนด์และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์

นิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์ เกิดวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2499 ที่ จังหวัดนครราชสีมา รู้จักกันดีในชื่อ "นิค ขายหัวเราะ" นักเขียนการ์ตูนไทยชื่อดังในสังกัดสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น มีผลงานการ์ตูนประจำอยู่ในนิตยสารขายหัวเราะและมหาสนุกตั้งแต่ยุคบุกเบิกจนถึงปัจจุบันเป็นเวลานานกว่า 25 ปี คาแรคเตอร์ของนิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์ในการ์ตูน มีลักษณะคล้ายเค้าหน้าจริง ผมยาวกึ่งสั้น และอ้วนลงพุง มักปรากฏเป็นตัวเดินเรื่องในการ์ตูนแก๊กทั้งแบบช่องเดียวจบและสามช่องจบทั้งนี้ นิพนธ์ยังได้ใช้คาแรคเตอร์ของเขาเองเป็นตัวละครหลักในการ์ตูนเรื่องสั้นของเขาเองด้วย ได้แก่ การ์ตูนชุด "คนอลเวง" และ "พีพีไอ้ตี๋ซ่า" ในการ์ตูนแก๊กต่างๆ ของนิค และการ์ตูนเรื่องสั้นบางชุด นิพนธ์จะเขียนตัวการ์ตูนของเขาเป็นตัวเดินเรื่องหรือแทรกเป็นตัวประกอบอยู่ในการ์ตูนของเขาเสมอ โดยมีลักษณะคล้ายเค้าหน้าจริงและอ้วนลงพุง เขาได้เปิดเผยว่าได้รับแนวคิดในการเขียนการ์ตูนต่างๆมาจากการดูโทรทัศน์ แล้วประมวลผลออกมาเป็นผลงานในแบบของตัวเอง รวมถึงในปัจจุบัน เขายังได้รับไอเดียจากอินเทอร์เน็ตมาประกอบการเขียนด้วยเช่นกัน.

ขายหัวเราะและนิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์ · นิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์และมหาสนุก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ขายหัวเราะและมหาสนุก

ขายหัวเราะ มี 60 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาสนุก มี 33 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 20, ดัชนี Jaccard คือ 21.51% = 20 / (60 + 33)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ขายหัวเราะและมหาสนุก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »