เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และรูดอล์ฟ เคลาซิอุส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และรูดอล์ฟ เคลาซิอุส

ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์) vs. รูดอล์ฟ เคลาซิอุส

right ในทางอุณหพลศาสตร์ ขอบเขต หมายถึงบริเวณที่ล้อมรอบพื้นที่เชิงปริมาณของสิ่ง ๆ หนึ่งเอาไว้ โดยขอบเขตนี้จะเป็นขอบเขตที่มีปรากฏอยู่จริงหรือโดยจินตนาการก็ได้ และปริมาณต่าง ๆ เช่น ความร้อน มวล หรืองาน สามารถไหลผ่านขอบเขตเหล่านี้ได้ หรืออาจจะสรุปสั้น ๆ ได้ว่า ขอบเขตคือเส้นแบ่งระหว่างระบบ และ สิ่งแวดล้อมนั่นเอง ขอบเขตนี้อาจจะถูกกำหนดให้เป็นอะเดียบาติก ไอโซเทอร์มอล ฯลฯ ก็ได้ อีกทั้งยังอาจจะเป็นขอบเขตที่เคลื่อนที่ไม่ได้ หรือเคลื่อนที่ได้ก็ได้ โดยพื้นฐานแล้ว ขอบเขตจะเขียนด้วยเส้นประล้อมรอบปริมาณของบางสิ่งที่สนใจ หรือที่เรียกว่า "ระบบ" ซึ่งจะถูกศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในของมัน อะไรก็ตามที่ไหลเข้ามาในระบบจะก่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในซึ่งสามารถคำนวณได้ตามหลักการของกฎทรงพลังงาน ระบบนี้อาจจะเป็นเพียงอะตอมหนึ่งอะตอมที่สั่นฟ้องกับพลังงานดั่งที่มักซ์ พลังค์ได้นิยามเอาไว้ใน พ.ศ. 2443 หรือ เป็นไอน้ำหรืออากาศในเครื่องจักรไอน้ำ ตามที่ซาดี การ์โนต์ นิยามไว้ในปี พ.ศ. 2367 หรืออาจจะเป็นพายุไต้ฝุ่นตามทฤษฎีของเคอร์รี เอ็มมานูเอลที่ถูกสร้างใน พ.ศ. 2529 หรืออาจจะเป็นเพียงนิวไคลด์ ในระบบควาร์ก ตามทฤษฎีอุณหพลศาสตร์ ควอนตัม สำหรับในเครื่องยนต์ ขอบเขตเคลื่อนที่ไม่ได้คือการที่ลูกสูบถูกยึดตรึง อันเป็นช่วงที่กระบวนการปริมาตรคงที่เกิดขึ้น และในเครื่องยนต์เดียวกัน การเคลื่อนที่ของขอบเขตคือการเคลื่อนที่ขึ้น-ลงของลูกสูบนั่นเอง สำหรับในระบบปิด (ระบบที่ไม่ยอมให้เกิดการถ่ายเทมวลสาร) ขอบเขตของระบบเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง ในขณะที่ระบบเปิด (ยอมให้มีการถ่ายเทมวลสาร) ขอบเขตมักจะมาจากการสร้างในจินตนาการ. รูดอล์ฟ เคลาซิอุส ผู้คิดค้น เอนโทรปี รูดอล์ฟ จูเลียส เอมมานูเอล เคลาซิอุส (Rudolf Julius Emanuel Clausius) (2 มกราคม ค.ศ. 1822 – 24 สิงหาคม ค.ศ. 1888) เป็นนักฟิสิกส์และนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้วางรากฐานของอุณหพลศาสตร์ โดยนำหลักการ "วัฎจักรการ์โนต์" ของซาดี การ์โนต์ มาศึกษาต่อยอด ทำให้ทฤษฎีความร้อนมีหลักการที่หนักแน่นมั่นคงขึ้น ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และรูดอล์ฟ เคลาซิอุส

ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และรูดอล์ฟ เคลาซิอุส มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กฎทรงพลังงานอุณหพลศาสตร์ความร้อน

กฎทรงพลังงาน

กฎทรงพลังงาน (Conservation of energy) เป็นกฎในทางฟิสิกส์ที่กล่าวว่า พลังงานโดยรวมในระบบแยกส่วนระบบแยกส่วน (isolated system) หมายถึง 1.

กฎทรงพลังงานและขอบเขต (อุณหพลศาสตร์) · กฎทรงพลังงานและรูดอล์ฟ เคลาซิอุส · ดูเพิ่มเติม »

อุณหพลศาสตร์

แผนภาพระบบอุณหพลศาสตร์ทั่วไป แสดงพลังงานขาเข้าจากแหล่งความร้อน (หม้อน้ำ) ทางด้านซ้าย และพลังงานขาออกไปยังฮีทซิงค์ (คอนเดนเซอร์) ทางด้านขวา ในกรณีนี้มีงานเกิดขึ้นจากการทำงานของกระบอกสูบ อุณหพลศาสตร์ (/อุน-หะ-พะ-ละ-สาด/ หรือ /อุน-หะ-พน-ละ-สาด/) หรือ เทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamics; มาจากภาษากรีก thermos.

ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และอุณหพลศาสตร์ · รูดอล์ฟ เคลาซิอุสและอุณหพลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อน

ในทางฟิสิกส์ ความร้อน (ใช้สัญลักษณ์ว่า Q) หมายถึง พลังงานที่ถ่ายเทจากสสารหรือระบบหนึ่งไปยังสสารหรือระบบอื่นโดยอาศัยความแตกต่างของอุณหภูมิ ในทางอุณหพลศาสตร์จะใช้ปริมาณ TdS ในการวัดปริมาณความร้อน ซึ่งมีความหมายถึง อุณหภูมิสัมบูรณ์ของวัตถุ (T) คูณกับอัตราการเพิ่มของเอนโทรปีในระบบเมื่อวัดที่พื้นผิวของวัตถุ ความร้อนสามารถไหลผ่านจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า หากต้องการให้ความร้อนถ่ายเทไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิเท่ากันหรือสูงกว่าจะทำได้ก็ต่อเมื่อใช้ปั๊มความร้อนเท่านั้น การสร้างแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงสามารถทำได้จากปฏิกิริยาเคมี (เช่นการเผาไหม้) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (เช่นฟิวชันในดวงอาทิตย์) การเคลื่อนที่ของอนุภาคแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่นเตาไฟฟ้า) หรือการเคลื่อนที่ทางกล (เช่นการเสียดสี) โดยที่อุณหภูมิเป็นหน่วยวัดปริมาณของพลังงานภายในหรือเอนทาลปี ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ส่งผลต่ออัตราการถ่ายเทความร้อนของวัตถุนั้นๆ ความร้อนสามารถถ่ายเทระหว่างวัตถุได้สามวิธีคือ การแผ่รังสี การนำความร้อน และการพาความร้อน นอกจากนี้มีกระบวนการถ่ายเทความร้อนอีกแบบหนึ่งคือ ความร้อนแฝง ซึ่งเกิดขึ้นในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสถานะ เช่น จากของแข็งเป็นของเหลว หรือจากของเหลวเป็นก๊าซ เป็นต้น.

ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และความร้อน · ความร้อนและรูดอล์ฟ เคลาซิอุส · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และรูดอล์ฟ เคลาซิอุส

ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์) มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ รูดอล์ฟ เคลาซิอุส มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 11.54% = 3 / (17 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)และรูดอล์ฟ เคลาซิอุส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: