ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ขและฃ
ขและฃ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พยัญชนะกอักษรไทยไตรยางศ์
พยัญชนะ
พยัญชนะ (วฺยญฺชน, consonant) ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่น ๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า 'พยัญชนะ' คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว.
ก
ก (ไก่) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 1 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับก่อนหน้า ข (ไข่) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ก ไก่" อักษร ก เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /k/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น สามารถควบกับอักษร ร ล ว ได้ เมื่อเป็นตัวสะกด นับเป็นตัวสะกดแม่กก และนับเป็นตัวแทนของตัวสะกดแม่กกด้วย ในหนังสือโบราณ มีการใช้ "ก หัน" คือ อักษร ก สองตัว แทนไม้หันอากาศและตัว ก สะกด ดังนี้ รกก (รัก), หกก (หัก) อักษร ก นี้ เทียบได้กับอักษรในระบบอักษรอื่นๆ ของอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายระบบ เช่น ระบบอักษรเทวนาครี ระบบอักษรมอญพม่า ระบบอักษรขอม เป็นต้น โดยอักษร ก ถือเป็นพยัญชนะตัวแรกเสมอ ก เพียงตัวเดียวแล้วเติมไม้ไต่คู้ โดยไม่มีสระ สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ คือ ก็ (อ่านว่า เก้าะ) เป็นคำสันธานแปลว่า แล้ว, จึง, ย่อม.
อักษรไทย
อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.
ไตรยางศ์
ตรยางศ์ หรือ อักษรสามหมู่ คือระบบการจัดหมวดหมู่อักษรไทย (เฉพาะรูปพยัญชนะ) ตามลักษณะการผันวรรณยุกต์ ของพยัญชนะแต่ละหมวด เนื่องจากพยัญชนะไทย เมื่อกำกับด้วยวรรณยุกต์หนึ่งๆ แล้วจะมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน การจัดหมวดพยัญชนะ ทำให้การเรียนภาษาไทยง่ายขึ้น ด้วยเหตุนี้ จึงเชื่อว่า ในชั้นแรกนั้น การแบ่งหมวดหมู่พยัญชนะน่าจะทำขึ้นเพื่อประโยชน์ในการแต่งตำราสอนภาษาไทยแก่นักเรียน คำว่า ไตรยางศ์ มาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า ตฺรย (ไตร) ซึ่งแปลว่า สาม รวมกับ อํศ (องศ์) ซึ่งแปลว่า ส่วน ดังนั้น ไตรยางศ์ จึงแปลรวมกันได้ว่าว่า สามส่วน.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ขและฃ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ขและฃ
การเปรียบเทียบระหว่าง ขและฃ
ข มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฃ มี 64 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 5.80% = 4 / (5 + 64)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ขและฃ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: