กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย
กีฬาคนพิการโลก vs. กีฬาคนพิการในประเทศไทย
กีฬาคนพิการโลก (World Wheelchair and Amputee Games) หรือที่รู้จักกันว่า กีฬาวีลแชร์สโตคแมนด์วิลล์ หรือ กีฬาสโตคแมนด์วิลล์เกม หรือ กีฬาวีลแชร์โลก เป็นการแข่งขันกีฬาหลากประเภท และหลายความพิการ สำหรับนักกีฬาผู้พิการ โดยจัดขึ้นครั้งแรก ในปี 1948 โดยเซอร์ลัดวิก กัตแมนน์ ผู้ซึ่งจัดการแข่งขันกีฬาของทหารที่ได้รับบาดเจ็บที่ไขกระดูกสันหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่โรงพยาบาลบำบัด ในสโตค แมนวิลล์ ประเทศอังกฤษ ในปี 1952 เนเธอร์แลนด์ได้เข้าร่วมแข่ง จึงทำให้เกิดการแข่งขันระหว่างประเทศสำหรับคนพิการขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี 1960 ซึ่งเป็นการแข่งขันครั้งที่ 9 ของกีฬาสโตคแมนวิลล์ ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงโรม ประเทศอิตาลี และตามมาในปีเดียวกันนั้นเองก็มีการจัดกีฬาโอลิมปิคครั้งที่ 17 ขึ้นที่กรุงโรม อิตาลีเช่นกัน จึงถือว่า นี่เป็นการจัดการแข่งขันพาราลิมปิคครั้งที่ 1 ในขณะที่พาราลิมปิคเกมค่อยๆ ปรากฏว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้พิการทุกประเภท แต่การแข่งขันกีฬาสโตคแมนด์วิลล์เกมก็ยังมีการจัดอย่างต่อเนื่องในกีฬาหลายๆประเภท เพื่อผู้ที่นักกีฬาผู้พิการวีลแชร์ การแข่งขันนั้นจัดเป็นประจำทุกปีที่สโตคแมนน์วิลล์ภายใต้แนวทางของ International Stoke Mandeville Games Federation (ISMGF) ต่อมากลายเป็น International Stoke Mandeville Wheelchair Sports Federation (ISMWSF) ในปี 1999 การแข่งขันวีลแชร์โลกครั้งแรกนั้นถูกจัดขึ้นนอกเกาะอังกฤษ ในคริสต์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ ในปี 2003 มีการจัดแข่งขั้นขึ้นอีกครั้งที่คริสต์เชิร์ชนี้ และรวมกับการแข่งขันของนักกีฬาผู้พิการที่ถูกตัดอวัยวะ ซึ่งจัดขึ้นโดย International Sports Organization for the Disabled (ISOD) ในปี 2004 ISMWSF และ ISOD รวมกันเป็น International Wheelchair and Amputee Sports Federation (IWAS) การแข่งขันกีฬาคนพิการโลก (IWAS World Wheelchair and Amputee Games) ครั้งแรก ถูกจัดขึ้นในปี 2005 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล และในปี 2007 ที่ ประเทศไต้หวัน. กีฬาคนพิการในประเทศไทย ปัจจุบันอยู่ในการกำกับดูแลของ คณะกรรมการพาราลิมปิกประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นในรูปของมูลนิธิ โดยแบ่งความรับผิดชอบตามประเภทของความพิการ 5 รูปแบบคือ กีฬาคนตาบอด, กีฬาคนหูหนวก, กีฬาผู้พิการทางปัญญา, กีฬาผู้พิการทางสมอง, กีฬาความพิการแขนขา อัมพาต และโปลิโอ แต่ทั้งหมดยังคงอยู่กับสมาคมกีฬาคนพิการแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพียงองค์กรเดียว เพื่อรอการจัดตั้งสมาคมกีฬาขึ้นใหม่ สำหรับรองรับงานในอนาคต.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย
กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรีฑาการว่ายน้ำยกน้ำหนัก
กรีฑา (athletics) หมายถึง มีการแข่งขันขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อราว 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยทำการแข่งขัน ณ ลาน เชิงเขาโอลิมเปีย ในแคว้นอีลิส ประเทศกรีซ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในสมัยโบราณ เมื่อกรีกเสื่อมอำนาจลง โรมันได้เข้ามาปกครองกรีกและห้ามชาวกรีกแข่งขันกีฬา ทำให้การแข่งขันกรีฑาต้องล้มเลิกไปด้วย ต่อมาใน..
กรีฑาและกีฬาคนพิการโลก · กรีฑาและกีฬาคนพิการในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »
การว่ายน้ำท่ากบ การว่ายน้ำ (Swimming) เป็นกระบวนการในการเคลื่อนที่ในน้ำของมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตอื่น การว่ายน้ำของมนุษย์มีจุดประสงค์หลายอย่าง เช่น นันทนาการ การแข่งขัน การออกกำลังกาย การว่ายน้ำนั้นมีการแบ่งออกเป็นท่าต่าง ๆ โดยท่าที่ใช้สำหรับแข่งขันนั้นได้แก่ ท่าฟรีสไตล์ ท่ากบ ท่ากรรเชียง และท่าผีเสื้อ การแข่งขันอีกประเภทหนึ่งคือการแข่งขันแบบ "ฟรีสไตล์" ซึ่งผู้เข้าแข่งขันสามารถว่ายน้ำแบบใดก็ได้ นักว่ายน้ำส่วนใหญ่เลือกใช้ท่าฟรอนท์ครอล (front crawl) ทำให้มักเรียกการว่ายน้ำแบบนี้ว่าฟรีสไตล์ สหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ (FINA) เป็นจัดการแข่งขันว่ายน้ำ (และกีฬาทางน้ำอื่น) ในระดับนานาชาติ การแข่งขันว่ายน้ำเป็นหนึ่งในการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน.
การว่ายน้ำและกีฬาคนพิการโลก · การว่ายน้ำและกีฬาคนพิการในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »
กน้ำหนัก ยกน้ำหนัก เป็นกีฬาประเภทหนึ่ง แข่งขันกันโดยการแข่งยกก้อนน้ำหนักที่ถ่วงไว้ที่สองข้างของคานเหล็ก โดยผู้ที่ยกน้ำหนักได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ โดยมีท่าในการยกที่แตกต่างกัน.
กีฬาคนพิการโลกและยกน้ำหนัก · กีฬาคนพิการในประเทศไทยและยกน้ำหนัก · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย
การเปรียบเทียบระหว่าง กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย
กีฬาคนพิการโลก มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ กีฬาคนพิการในประเทศไทย มี 97 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 2.78% = 3 / (11 + 97)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กีฬาคนพิการโลกและกีฬาคนพิการในประเทศไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: