โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กิมป์และครีตา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กิมป์และครีตา

กิมป์ vs. ครีตา

กนูอิมิจมานิพิวเลชันโปรแกรม (- โปรแกรมจัดการภาพกนู) หรือกิมป์ (GIMP) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับตกแต่งภาพแบบแรสเตอร์ คล้ายกับซอฟต์แวร์อย่าง อะโดบี โฟโตชอป กิมป์สามารถทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น และ ลินุกซ์ กิมป์เป็นซอฟต์แวร์เสรี ที่อนุญาตให้นำไปใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และยังอนุญาตให้นำไปแก้ไขและแจกจ่ายได้ด้ว. รีตา (อังกฤษ: Krita) เป็นโปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพแบบแรสเตอร์ เป็นซอฟต์แวร์เสรีเช่นเดียวกับ กิมป์ (GIMP) โดยโปรแกรม Krita เป็นส่วนหนึ่งของ KDE มีความสามารถสูงกว่าซอฟต์แวร์เสรีสำหรับแก้ไขภาพแบบแรสเตอร์ตัวอื่นๆ ในด้านการจัดการภาพในแบบ CMYK, L*a*b, ทั้งยังรองรับความละเอียด 8 บิตถึง 32 บิตและภาพแบบอื่นๆอีกมาก โดยเฉพาะการรองรับ CMYK ทำให้ Krita เหมาะกับงานสิ่งพิมพ์และงานอื่นๆที่ต้องการความหลากหลายของระบบสีมากกว่าซอฟต์แวร์เสรีตัวอื่นๆรวมถึง GIMP ที่ในปัจจุบัน (version 2.6.3) ยังไม่รองรับ CMYK ในระดับที่เทียบเท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กิมป์และครีตา

กิมป์และครีตา มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ลินุกซ์สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนูครีตาแมคโอเอสไมโครซอฟท์ วินโดวส์เคดีอี

ภาพกราฟิกส์แรสเตอร์

มื่อขยายหน้ายิ้มมุมซ้ายบนของภาพซึ่งเป็นภาพภาพบิตแมป RGB เป็นภาพใหญ่ทางขวา จะเห็นว่าแต่ละสี่เหลี่ยมคือจุดภาพ หรือ pixel เมื่อวิเคราะห์ให้ลึกเข้าไปอีก สีต่างๆของ pixel เกิดจากการผสมแสงสีแดง เขียวและน้ำเงินเข้าในสัดส่วนต่างๆกัน ภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ (raster graphics) หรือ ภาพบิตแมป (bitmap) หรือ คือภาพที่ประกอบด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัว มีข้อดีคือ เหมาะกับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี กำหนดสีที่ต้องการความละเอียดได้ง่าย ข้อเสีย คือเมื่อมีจุดสีที่คงที่นั่น ทำให้เวลาขยายภาพนั้นจะมีความละเอียดน้อยลงมาก และถ้าเพิ่มขนาดความละเอียดให้แก่ภาพ จะทำให้ไฟล์ภาพมีขนาดที่ใหญ่ และเปลืองพื้นที่ความจำ ไฟล์ภาพพวกนี้มีหลายรูปแบบ อาทิ เช่น BMP, TIF, JPG, PCT ฯลฯ โปรแกรมที่ใช้ เช่น โฟโต้ชอป, กิมป์ ฯลฯ.

กิมป์และภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ · ครีตาและภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

กิมป์และลินุกซ์ · ครีตาและลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู

รื่องหมายการค้าของกนู สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู หรือ กนูจีพีแอล หรือ จีพีแอล (GNU General Public License, GNU GPL, GPL) เป็นสัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน ฉบับแรกสุดเขียนโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เริ่มต้นใช้กับโครงการกนู ในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991).

กิมป์และสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู · ครีตาและสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู · ดูเพิ่มเติม »

ครีตา

รีตา (อังกฤษ: Krita) เป็นโปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพแบบแรสเตอร์ เป็นซอฟต์แวร์เสรีเช่นเดียวกับ กิมป์ (GIMP) โดยโปรแกรม Krita เป็นส่วนหนึ่งของ KDE มีความสามารถสูงกว่าซอฟต์แวร์เสรีสำหรับแก้ไขภาพแบบแรสเตอร์ตัวอื่นๆ ในด้านการจัดการภาพในแบบ CMYK, L*a*b, ทั้งยังรองรับความละเอียด 8 บิตถึง 32 บิตและภาพแบบอื่นๆอีกมาก โดยเฉพาะการรองรับ CMYK ทำให้ Krita เหมาะกับงานสิ่งพิมพ์และงานอื่นๆที่ต้องการความหลากหลายของระบบสีมากกว่าซอฟต์แวร์เสรีตัวอื่นๆรวมถึง GIMP ที่ในปัจจุบัน (version 2.6.3) ยังไม่รองรับ CMYK ในระดับที่เทียบเท.

กิมป์และครีตา · ครีตาและครีตา · ดูเพิ่มเติม »

แมคโอเอส

ไม่มีคำอธิบาย.

กิมป์และแมคโอเอส · ครีตาและแมคโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครซอฟท์ วินโดวส์

มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.

กิมป์และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ครีตาและไมโครซอฟท์ วินโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

เคดีอี

KDE หรือชื่อเต็ม K Desktop Environment เป็นสภาพแวดล้อมในการทำงานแบบเดสก์ท็อป (Desktop Environment) ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรี พัฒนาบนทูลคิท Qt ของบริษัท Trolltech และทำงานได้บนระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์เกือบทุกรุ่น เช่น ลินุกซ์, BSD, AIX และ Solaris รวมถึงมีรุ่นที่ใช้งานได้บน Mac OS X และไมโครซอฟท์วินโดวส์ KDE มีโครงการพี่น้องที่พัฒนาไปพร้อมกันอย่าง KDevelop ซึ่งเป็นชุดเครื่องมือสำหรับการพัฒนาโปรแกรม และ KOffice ชุดโปรแกรมสำนักงาน ในรุ่น 4.1 ได้แก้ไขในเรื่องบั๊กทั้งหมดและหน้าตาของชุดตกแต่งพลาสมา รวมถึงการตั้งค่า TaskBar ดีมากยิ่งขึ้น และส่วนการติดต่อที่ค่อนข้างจะสมบูรณ์กว่า KDE 4.0.X ปัจจุบันรุ่น 4.8.0.

กิมป์และเคดีอี · ครีตาและเคดีอี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กิมป์และครีตา

กิมป์ มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ ครีตา มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 16.67% = 7 / (33 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กิมป์และครีตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »