โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กำแพงประจิมและชาวเบตาอิสราเอล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กำแพงประจิมและชาวเบตาอิสราเอล

กำแพงประจิม vs. ชาวเบตาอิสราเอล

300px กำแพงประจิม (Western Wall) หรือ กำแพงโอดครวญ (Wailing Wall) หรือ กำแพงอัล-บิรัก (حائط البراق) เป็นกำแพงโบราณในเขตเมืองเก่าเยรูซาเลม สร้างขึ้นจากหินปูนเมื่อครั้งมีการขยายพระวิหารหลังที่สองของพวกยิวโดยพระเจ้าเฮโรดมหาราชในศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล กำแพงแห่งนี้ตั้งอยู่อาณาบริเวณขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมที่เรียกว่าเนินพระวิหาร ซึ่งสำหรับชาวมุสลิมแล้ว เนินแห่งนี้เป็นสถานที่ที่มุฮัมหมัดถูกพระอัลลอห์รับขึ้นไปบนสวรรค์ ชาวยิวจะเรียกกำแพงนี้ว่ากำแพงประจิม เนื่องตั้งอยู่ทางตะวันตกของเนินพระวิหาร ส่วนชาวคริสต์จะเรียกกำแพงนี้ว่ากำแพงโอดครวญ เพื่อสะท้อนเหตุการณ์ที่ชาวยิวต่างพากันมาร่ำร้องโอดครวญกันที่กำแพงแห่งนี้ในวันที่พวกโรมันเข้ายึดครองเยรูซาเลมใน.. วเบตาอิสราเอล (ภาษาฮีบรู: בֵּיתֶא יִשְׂרָאֵל‎‎ - Beyte (beyt) Israel, ภาษากีเอซ: ቤተ እስራኤል - Bēta 'Isrā'ēl, modern Bēte 'Isrā'ēl, EA: "Betä Əsraʾel", บ้านของอิสราเอล") หรือชาวยิวเอธิโอเปีย (ภาษาฮีบรู: יְהוּדֵי ‏אֶ‏תְיוֹ‏פְּ‏יָ‏ה‎‎: yehudei itiyopya, ภาษากีเอซ: "የኢትዮጵያ አይሁድዊ", ye-Ityoppya Ayhudi), เป็นชื่อของชุมชนชาวยิวที่อาศัย ในบริเวณของจักรวรรดิอัคซุมหรือจักรวรรดิเอธิโอเปีย (ฮาเบซหรืออบิสซิสเนีย) ซึ่งปัจจุบันถูกแบ่งเป็นเขตอัมฮาราและตึกรึญญา ชาวเบตาอิสราเอลอาศัยอยู่ทางเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของเอธิโอเปีย มีหมู่บ้านอย่างน้อย 500 หมู่บ้าน กระจายในเขตปกครองของชาวคริสต์และมุสลิม ส่วนใหญ่อาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณทะเลสาบทานา และทางเหนือของทะเลสาบในติเกร กอนเดอร์ และเวลโล มีส่วนน้อยอาศัยอยู่ในเมืองกอนเดอร์และแอดดิส อะบาบา เกือบทั้งหมดของชุมชนชาวเบตาอิสราเอลในเอธิโอเปียมากกว่า 120,000 คนอาศัยอยู่ในอิสราเอลภายใต้กฎหมายของการอพยพกลับซึ่งจะทำให้ชาวยิวและผู้ที่มีพ่อแม่หรือปู่ย่าตายายเป็นชาวยิวและคู่สมรสของพวกเขามีสิทธิที่จะตั้งถิ่นฐานในอิสราเอลและได้รับสัญชาติ รัฐบาลอิสราเอลได้ดำเนินการช่วยเหลือชาวเบตาอิสราเอลส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างปฏิบัติการโมเสส(พ.ศ. 2527) และปฏิบัติการโซโลมอน (พ.ศ. 2534) การย้ายถิ่นของพวกเขาเกิดขึ้นเมื่อเกิดสงครามกลางเมืองและความอดอยากคุกคามประชากรชาวยิวในประเทศเอธิโอเปีย การอพยพได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ทุกวันนี้ชาวเบตาอิสราเอล 81,000 คน เกิดในเอธิโอเปียในขณะที่ 38,500 คนหรือ 32% เกิดในอิสราเอล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กำแพงประจิมและชาวเบตาอิสราเอล

กำแพงประจิมและชาวเบตาอิสราเอล มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ศาสนายูดาห์เยรูซาเลม

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

กำแพงประจิมและศาสนายูดาห์ · ชาวเบตาอิสราเอลและศาสนายูดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เยรูซาเลม

รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H. Cline's tally in Jerusalem Besieged.

กำแพงประจิมและเยรูซาเลม · ชาวเบตาอิสราเอลและเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กำแพงประจิมและชาวเบตาอิสราเอล

กำแพงประจิม มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ชาวเบตาอิสราเอล มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 11.11% = 2 / (6 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กำแพงประจิมและชาวเบตาอิสราเอล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »