โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กำมะถันและตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กำมะถันและตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์

กำมะถัน vs. ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์

กำมะถัน(สุพรรณถัน) หรือ ซัลเฟอร์ (Sulfur หรือ Sulphur) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ S และเลขอะตอม 16 เป็นอโลหะที่มีอยู่ทั่วไป ไม่มีรสหรือกลิ่น และมีวาเลนซ์ได้มากมาย กำมะถันในรูปแบบปกติเป็นของแข็งสีเหลืองที่เป็นผลึก ในธรรมชาติ สามารถพบได้ในรูปธาตุเอง หรือแร่ซัลไฟด์และซัลเฟต เป็นธาตุจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต และพบในกรดอะมิโนหลายชนิด การใช้ในเชิงพาณิชย์ที่เป็นหลัก คือ ในปุ๋ย แต่นอกจากนี้ยังใช้ในดินปืน ไม้ขีดไฟ ยาฆ่าแมลง และยาฆ่าร. ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์ (อังกฤษ:crosslinker) เป็นตัวเชื่อมสายโซ่พอลิเมอร์ ด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่เชื่อมระหว่าง 2 สายพอลิเมอร์ ทำให้พอลิเมอร์มีสมบัติเป็นเทอร์มอเซต พอลิเมอร์ (thermosetting polymer) ในทางชีววิทยา มีการประยุกต์การเชื่อมโยงข้ามของพอลิอะคริลาไมด์ (polyacrylamide) ในกระบวนการ gel electrophoresis และ โปรตีน ตัวเชื่อมโยงข้ามขัดขวางการจับตัวกันอย่างหนาแน่นของสายโซ่พอลิเมอร์ และป้องกันการเกิดบริเวณที่จัดเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบ การเชื่อมโยงข้าม (cross-link) เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเมอร์กับตัวเชื่อมโยงข้าม เช่น ในกระบวนการวัลคะไนส์ (vulcanization) ตัวเชื่อมโยงคือซัลเฟอร์ (sulfur) ทำปฏิกิยากับพอลิไอโซพรีน (polyisoprene) ทำให้คุณสมบัติของยางแข็งขึ้น และมีความทนทาน ยางนี้ไปใช้ได้ดีกับรถยนต์และรถจักรยาน ไฟล์:crosslink.jpg.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กำมะถันและตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์

กำมะถันและตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กำมะถันและตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์

กำมะถัน มี 41 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (41 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กำมะถันและตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »