โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

กาเหว่าที่บางเพลง vs. รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ฉากภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2537 กาเหว่าที่บางเพลง เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ ผลงานประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวัน ช่วงประมาณ.. รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกาเหว่าที่บางเพลงรุจน์ รณภพศรัณยู วงษ์กระจ่างสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์จรัล มโนเพ็ชรขจรศักดิ์ รัตนนิสสัยไกรลาศ เกรียงไกรเกรียงไกร อุณหะนันทน์

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

กาเหว่าที่บางเพลงและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

กาเหว่าที่บางเพลง

ฉากภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2537 กาเหว่าที่บางเพลง เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ ผลงานประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวัน ช่วงประมาณ..

กาเหว่าที่บางเพลงและกาเหว่าที่บางเพลง · กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รุจน์ รณภพ

รุจน์ รณภพ (พ.ศ. 2474บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2474 บางแหล่งก็ว่า พ.ศ. 2475 ส่วนวันที่นั้นบางแหล่งระบุว่า 17 กรกฎาคม บางแหล่งระบุว่า 13 กรกฎาคม — 27 ธันวาคม พ.ศ. 2552) มีชื่อจริงว่า สุรินทร์ เจริญปุระ อดีตนักแสดง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้กำกับละครโทรทัศน์ เข้าเรียนที่โรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ มักกะสัน เลขประจำตัว 1286 เมื่อปี..

กาเหว่าที่บางเพลงและรุจน์ รณภพ · รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรุจน์ รณภพ · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

กาเหว่าที่บางเพลงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์

อาด เปี่ยมพงศ์สานต์ (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475) ชื่อเล่น เล็ก เป็นนักแสดง นักพากย์ ผู้เขียนบทโทรทัศน์ และผู้กำกับการแสดงชาวไทย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยนิฮง กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในสาขาวิชาการภาพยนตร์ และวิชาโทรทัศน์จาก N.H.K. TV เมื่อ..

กาเหว่าที่บางเพลงและสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ · รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและสอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

กาเหว่าที่บางเพลงและจรัล มโนเพ็ชร · จรัล มโนเพ็ชรและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย

รศักดิ์ รัตนนิสสัย มีชื่อเสียงจากการแสดงนำในภาพยนตร์เรื่อง "รักแรกอุ้ม" ในปี พ.ศ. 2531 และ "พริกขี้หนูกับหมูแฮม" ในปี พ.ศ. 2532 จากนั้นในปี พ.ศ. 2534 ได้แสดงในบท ตวง ในภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์เรื่องแรกของวงการภาพยนตร์ไทย คือ กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ประกบคู่กับ สุรศักดิ์ วงษ์ไทย และ อังคณา ทิมดี จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 ด้วยท่าทีที่ยียวน ชอบหลิ่วตาและทำปากเบ้เหมือนโรเบิร์ต มิตชั่ม ดาราฮอลลีวู้ด ขจรศักดิ์จึงได้ออกอัลบั้มเพลงในสังกัดแกรมมี่ในมาดกวน ๆ ในชื่อชุด "สงวนลิขสิทธิ์" มีเพลงที่ฮิตและได้รับความนิยมมาจนปัจจุบัน คือ "อย่าคิดมาก", "ใครไม่เกี่ยวก็ถอยไป", "พ่อ" เป็นต้น หลังจากนั้น บทบาทในวงการบันเทิงของขจรศักดิ์ก็ได้ห่างหายไป จนปัจจุบัน ได้รับบทเป็นตัวประกอบในภาพยนตร์บางเรื่องบ้าง เช่น เสือ โจรพันธุ์เสือ ในปี พ.ศ. 2541, 102 ปิดกรุงเทพปล้น ในปี พ.ศ. 2547, รักสยามเท่าฟ้า ในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้น.

กาเหว่าที่บางเพลงและขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย · ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัยและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไกรลาศ เกรียงไกร

ันโท ไกรลาศ เกรียงไกร นักแสดงชายชาวไทย เป็นนักแสดงสมทบในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายเรื่อง มีชื่อจริงว่า ไกรลาศน์ ยวงใย เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร โดยเป็นบุตรคนที่ 9 จากบุตรทั้งหมด 9 คน ของ.ต.วิมล และ นางกรุณา ยวงใย เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2521 จากเรื่อง เทพธิดาบาร์ 21 จากการกำกับของ ยุทธนา มุกดาสนิท และมีชื่อเข้าชิงรางวัลเดียวกันนี้อีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2525 จากเรื่อง พลฯ ทองดีใจซื่อ ผลงานการแสดงภาพยนตร์เรื่องอื่น ๆ อาทิ ลูกอีสาน ในปี..

กาเหว่าที่บางเพลงและไกรลาศ เกรียงไกร · รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและไกรลาศ เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อุณหะนันทน์

กรียงไกร อุณหะนันทน์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาท "ท่านชายพจน์" ในภาพยนตร์เรื่อง ปริศนา เมื่อปี พ.ศ. 2525.

กาเหว่าที่บางเพลงและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

กาเหว่าที่บางเพลง มี 45 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 432 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 1.89% = 9 / (45 + 432)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กาเหว่าที่บางเพลงและรายชื่อนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »