การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต
การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซม vs. วิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต
ภาพวาดการไขว้เปลี่ยนของโทมัส ฮันท์ มอร์แกน (1916) การไขว้เปลี่ยนสองชั้น การจัดเรียงใหม่ต้องเกิดจากการตัดและต่อของสายโครโมโซมของรุ่นพ่อแม่ กระบวนการไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมหรือครอสซิง โอเวอร์ คือกระบวนการซึ่งทำให้มีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมระหว่างโครโมโซมซึ่งเป็นโฮโมโลกัสกัน ถือเป็นขั้นตอนท้ายๆ ของกระบวนการจัดเรียงใหม่ของพันธุกรรมในโปรเฟส 1 ของไมโอซิส (แพคีทีน) ในขั้นตอนไซแนปซิส ซึ่งไซแนปซิสเริ่มขึ้นก่อนที่จะมีการสร้างไซแนปโตนีมาลคอมเพลกซ์ และยังไม่เสร็จจนกระทั่งช่วงท้ายของโปรเฟส 1 กระบวนการไขว้เปลี่ยนส่วนใหญ่เกิดขึ้นเมื่อบริเวณซึ่งพอดีกันบนโครโมโซมที่เป็นคู่กันเกิดการแตกและต่อกันระหว่างโครโมโซมคู่กันคนละตัว หมวดหมู่:กระบวนการของเซลล์ หมวดหมู่:อณูพันธุศาสตร์. วิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต (evolution of color vision in primates) เป็นเหตุการณ์พิเศษในบรรดาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในเคลดยูเธอเรีย แม้บรรพบุรุษสัตว์มีกระดูกสันหลังของไพรเมตจะเห็นเป็นสีด้วยเซลล์รูปกรวยในจอตา 4 ประเภท (tetrachromacy) แต่บรรพบุรุษที่เป็นสัตว์เลือดอุ่นหากินกลางคืนต่อมา ก็ได้เสียเซลล์รูปกรวย 2 ประเภทไปในยุคไดโนเสาร์ ดังนั้น ปลาใน Infraclass "Teleostei" สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ปีกล้วนแต่เห็นภาพสีด้วยเซลล์รูปกรวย 4 ประเภท ในขณะที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ยกเว้นไพรเมตและสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้องบางชนิด ล้วนแต่เห็นเป็นสีด้วยเซลล์รูปกรวยเพียง 2 ประเภท (dichromacy) ไพรเมตเห็นภาพสีด้วยเซลล์รูปกรวย 3 ประเภท (Trichromacy) ที่ตอบสนองสูงสุดต่อคลื่นแสงสีม่วง (คลื่นสั้น S) สีเขียว (คลื่นกลาง M) และสีเหลือง-เขียว (คลื่นยาว L) โดยมีโปรตีนอ็อปซิน (Opsin) เป็นสารรงควัตถุไวแสง (photopigment) หลักในตา และลำดับ/โครงสร้างของอ็อปซินจะเป็นตัวกำหนดความไวสี/สเปกตรัมต่าง ๆ ของเซลล์รูปกรวย แต่ก็ไม่ใช่ว่า ไพรเมตทั้งหมดจะสามารถเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท ลิงวงศ์ใหญ่ "catarrhinni" ซึ่งรวมลิงโลกเก่าและเอป ปกติจะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท คือทั้งตัวผู้ตัวเมียมีอ็อปซิน 3 ประเภทที่ไวต่อความยาวคลื่นแสงแบบสั้น กลาง และยาว ส่วนในสปีชีส์เกือบทั้งหมดของลิงโลกใหม่ ตัวผู้ทั้งหมดและตัวเมียพันธุ์แท้ จะเห็นภาพสีด้วยเซลล์เพียง 2 ประเภท และตัวเมียพันธุ์ผสม จะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท ซึ่งเป็นภาวะที่นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า allelic/polymorphic trichromacy (การเห็นภาพสีด้วยเซลล์รูปกรวย 3 ประเภทเหตุอัลลีลหรือภาวะพหุสัณฐาน) ในบรรดาลิงโลกใหม่ ลิงสกุล Alouatta (Howler monkey) ปกติจะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ประเภท.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต
การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): โครโมโซม
ซนโทรเมียร์ คือจุดที่โครมาทิดทั้งสองอันสัมผัสกัน, (3) แขนข้างสั้น และ (4) แขนข้างยาว โครโมโซมมนุษย์ โครโมโซม (chromosome) เป็นที่เก็บของหน่วยพันธุกรรม ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมและถ่ายทอดข้อมูล เกี่ยวกับ ลักษณะทางพันธุกรรมต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น ลักษณะของเส้นผม ลักษณะดวงตา เพศ และสีผิว หน่วยพันธุกรรม หรือ ยีน (gene) ปรากฏอยู่บนโครโมโซม ประกอบด้วยดีเอ็นเอ ทำหน้าที่กำหนดลักษณะ ทางพันธุกรรมต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต หน่วยพันธุกรรมจะถูกถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตรุ่นก่อนหน้าสู่ลูกหลาน เช่น ควบคุมกระบวนการเกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไปทางชีวเคมีภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต ไปจนถึงลักษณะปรากฏที่พบเห็นหรือสังเกตได้ด้วยตา เช่น รูปร่างหน้าตาของเด็กที่คล้ายพ่อแม่, สีสันของดอกไม้, รสชาติของอาหารนานาชนิด ล้วนแล้วแต่เป็นลักษณะที่บันทึกอยู่ในหน่วยพันธุกรรมทั้งสิ้น.
การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและโครโมโซม · วิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมตและโครโมโซม · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต
การเปรียบเทียบระหว่าง การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต
การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซม มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต มี 60 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.59% = 1 / (3 + 60)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การไขว้เปลี่ยนของโครโมโซมและวิวัฒนาการของการเห็นเป็นสีในไพรเมต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: