การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ
การให้เหตุผลแบบอุปนัย vs. ทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (bottom-up logic) เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นการหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง ข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่ จำนวนข้อมูล และ ข้อมูล การให้เหตุผลแบบอุปนัย ตรงกันข้ามกับ การให้เหตุผลแบบนิรนัย หมวดหมู่:เหตุผล หมวดหมู่:ญาณวิทยา หมวดหมู่:การแก้ปัญหา หมวดหมู่:เหตุผลอุปนัย. ทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ (Dialectical materialism) เป็นทฤษฎีที่ถูกคิดค้นรวบรวมขึ้นให้สมบูรณ์โดยผู้แผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์คนแรก หรือที่รู้จักกันในนามของ คาร์ล มาร์ก ตัวทฤษฎีนี้ เกิดจากการผสานหลักคิดของนักคิดและนักจิตวิทยาผู้มีชื่อเสียงหลายคนในอดีต เช่น อดัม สมิธ บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์โลก ซิกมัน ฟรอย และคนอื่น ๆ ไม่เว้นแม้แต่ปราชญ์แห่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์อย่างอริสโตเติล หรือ โสกราตีส ลักษณะของทฤษฎีเป็นการ 'มุ่งเน้นหาสัจจะจากความเป็นจริงและลงมือพัฒนา' ซึ่งความเป็นจริงในที่นี้หมายถึงความเที่ยงแท้ในเรื่องใด ๆ ก็ตามในธรรมชาติ และการลงมือพัฒนาก็หมายถึงการลงมือพัฒนาตามหลัก 'ความเป็นจริงในเรื่องใด ๆ หรือสภาพใด ๆ' เพื่อเป้าหมายที่ปรารถนา หรือจะกล่าวในทางสังคมนิยมก็คือ ความมั่งคั่งร่วมกัน การเข้าถึงทฤษฎีนี้มีเพียงการปฏิบัติเท่านั้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาเรื่องใด ๆ ให้กระจ่างชัดก่อนลงมือกระทำ ทั้งนี้ในการศึกษาควรจะเป็นการลงพื้นที่จริงเพื่อให้ได้รับรู้สภาพที่แท้จริงเท่านั้น.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ
การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ
การเปรียบเทียบระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ
การให้เหตุผลแบบอุปนัย มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ ทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 2)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: