โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การให้เหตุผลแบบอุปนัยและจำนวนแฟร์มา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและจำนวนแฟร์มา

การให้เหตุผลแบบอุปนัย vs. จำนวนแฟร์มา

การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (bottom-up logic) เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นการหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง ข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่ จำนวนข้อมูล และ ข้อมูล การให้เหตุผลแบบอุปนัย ตรงกันข้ามกับ การให้เหตุผลแบบนิรนัย หมวดหมู่:เหตุผล หมวดหมู่:ญาณวิทยา หมวดหมู่:การแก้ปัญหา หมวดหมู่:เหตุผลอุปนัย. จำนวนแฟร์มา ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง จำนวนเต็มบวกที่อยู่ในรูป เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ จำนวนแฟร์มาได้ตั้งชื่อตามชื่อของปีแยร์ เดอ แฟร์มา นักคณิตศาสตร์คนแรกที่ศึกษาในเรื่องนี้ จำนวนแฟร์มาเก้าจำนวนแรกได้แก่ นอกจากนี้จำนวนแฟร์มายังสามารถเขียนอยู่ในรูปของความสัมพันธ์เวียนเกิดได้ดังนี้ จำนวนแฟร์มาที่เป็นจำนวนเฉพาะจะเรียกว่า จำนวนเฉพาะแฟร์มา ซึ่งเราสามารถพิสูจน์ได้ว่า จำนวนเฉพาะทุกจำนวนที่อยู่ในรูป 2n + 1 จะเป็นจำนวนเฉพาะแฟร์มาเสมอ ปัจจุบัน จำนวนเฉพาะแฟร์มาที่มีการค้นพบแล้วได้แก่ F0, F1, F2, F3 และ F4 หมวดหมู่:จำนวนเต็มขนาดใหญ่ หมวดหมู่:เรขาคณิต หมวดหมู่:เรขาคณิตบนระนาบยุคลิด หมวดหมู่:ลำดับจำนวนเต็ม หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน หมวดหมู่:ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ยังแก้ไม่ได้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและจำนวนแฟร์มา

การให้เหตุผลแบบอุปนัยและจำนวนแฟร์มา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและจำนวนแฟร์มา

การให้เหตุผลแบบอุปนัย มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ จำนวนแฟร์มา มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัยและจำนวนแฟร์มา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »