โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การใช้อำนาจครอบงำและพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การใช้อำนาจครอบงำและพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด

การใช้อำนาจครอบงำ vs. พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด

การใช้อำนาจครอบงำ หรือ อธิกภาพ ในการเมืองระหว่างประเทศ (hegemony; ἡγεμονία hēgemonía, "ความเป็นผู้นำ" หรือ "กฎ"; มีที่มาจากคำกริยาภาษากรีกว่า ἡγέομαι แปลว่า "นำทางไป", "นำร่อง" หรือ "เป็นผู้นำในการรบ") เป็นระบอบการปกครอง และภาวะครอบงำแบบจักรวรรดิทางอ้อม โดยผู้ใช้อำนาจเชิง "อธิกะ" (hegemon) คือรัฐผู้นำ ปกครองรัฐที่ด้อยอำนาจกว่าทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้วยอำนาจโดยนัย และการข่มขู่คุกคามในด้านต่างๆ แต่มิใช่ด้วยกำลังทหารโดยตรง ในกรีซโบราณ (ศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล – คริสต์ศตวรรษที่ 6) อธิกภาพในการเมืองระหว่างประเทศ หมายถึง นครรัฐหนึ่งมีภาวะครอบงำทางการเมือง–การทหารเหนืออีกนครรัฐหนึ่ง ในศตวรรษที่ 19 อธิกภาพ หรือ การครอบงำเชิงอำนาจ เริ่มถูกใช้เพื่อสื่อความถึง "การก้าวขึ้นสู่อำนาจ หรือเข้ามาเป็นผู้นำในทางสังคมหรือวัฒนธรรม; สถานะที่โดดเด่นของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในสังคม หรือสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม" ต่อมาคำดังกล่าวได้ถูกใช้เพื่อสื่อความถึงอำนาจในทางภูมิรัฐศาสตร์ หรือวัฒนธรรม ที่ประเทศหนึ่งมีเหนือประเทศอื่น โดยแนวคิดเรื่อง อธิกภาพ ในยุคนี้เน้นไปที่การใช้อำนาจของประเทศมหาอำนาจยุโรป เหนือทวีปเอเชีย และแอฟริกา โดยอาจไม่ใช่การเข้ายึดครองโดยตรง เช่นกรณีที่ประเทศฝรั่งเศสใช้อำนาจเชิงอธิกภาพ กดดันสยามให้สละอำนาจอธิปไตยในดินแดนบางส่วนของตน เพื่อที่ฝรั่งเศสจะได้เข้ามาปกครอง รวมถึงการปฏิเสธอำนาจทางวัฒนธรรมของสยามเหนือดินแดนลาวและกัมพูชา หรือกรณีที่เซอร์ จอห์น เบาว์ริง (ผู้ว่าราชการเกาะฮ่องกงในสมัยนั้น) กดดันให้สยาม และญี่ปุ่นเปิดการค้าเสรีกับจักรวรรดิอังกฤษ เพื่อให้อังกฤษสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่ขาดแคลนในยุโรปได้ ในทางทฤษฎีความสัมพันธ์ทางการเมือง อธิกภาพ หรือ การครอบงำเชิงอำนาจ หมายถึงสถานการณ์ที่ มีความอสมมาตรอย่างมีนัยสำคัญให้เป็นคุณแก่รัฐหนึ่ง โดยรัฐนั้น (1) มีกำลังทหารแกร่งพอที่จะสลายภัยคุกคามจากอำนาจคู่แข่งได้อย่างเป็นระบบ; (2) สามารถเข้าถึงวัตถุดิบ ทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุน และตลาด (3) มีความได้เปรียบเชิงแข่งขันในการผลิตสินค้ามูลค่าสูง; (4) มีความสามารถที่จะสร้าง และเผยแพร่คตินิยมที่สะท้อนถึงรูปการ หรือสภาพการณ์ที่เป็นอยู่; และ (5) มีฐานะหน้าที่แตกต่างไปจากรัฐอื่นๆในระบบ โดยถูกคาดหวังว่าจะต้องจัดหาสินค้าสาธารณะบางอย่าง เช่น ความมั่งคงปลอดภัย หรือความคงตัวทางการเงินและทางธุรกิจการค้. ''พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด'' ฉบับตีพิมพ์ พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด (Oxford English Dictionary; OED) เป็นพจนานุกรม ที่ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ปกติถือเป็นพจนานุกรมภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและละเอียดที่สุด โดยมีรายการหลักประมาณ 301,100 รายการ (สถิติล่าสุด 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005) และมีตัวอักษรทั้งหมดมากกว่า 350 ล้านตัว นอกจากคำหลักของรายการหลักแล้ว ยังมีคำประสม และคำแผลงพิมพ์ตัวหนา 157,000 คำ ขณะที่มีวลีและวลีย่อยพิมพ์ตัวหนา 169,000 รายการ ทำให้มีลูกคำทั้งหมด 616,500 คำ นอกจากนี้ยังมีการเขียนคำอ่าน 137,000 คำ, รากศัพท์หรือที่มา 249,300 คำ ศัพท์เชื่อมโยง (cross-references) 577,000 มีจำนวนหน้า 21,730 หน้า และรายการศัพท์ทั้งหมด 291,500 รายการ นโยบายของพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด คือ พยายามที่จะบันทึกการใช้งานและลักษณะแปรผันทั้งหมดเท่าที่ทราบ ในทุกลักษณะของปลีกย่อยของภาษาอังกฤษ ที่ใช้กันทั่วโลก ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ส่วนหนึ่งของคำนำฉบับพิมพ์ ค.ศ. 1933 มีดังนี้ พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด คือจุดเริ่มต้นของงานที่เน้นวิชาการที่เข้มข้น ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษ การเลือกลำดับในการสะกดแบบต่างๆ ของคำหลักนั้น มีอิทธิพลต่อการเขียนภาษาอังกฤษในหลายประเท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การใช้อำนาจครอบงำและพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด

การใช้อำนาจครอบงำและพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การใช้อำนาจครอบงำและพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด

การใช้อำนาจครอบงำ มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (7 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การใช้อำนาจครอบงำและพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »