โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การแปลงฟูรีเย

ดัชนี การแปลงฟูรีเย

การแปลงฟูรีเย (Fourier transform) ตั้งชื่อตาม โฌแซ็ฟ ฟูรีเย หมายถึงการแปลงเชิงปริพันธ์ โดยเป็นการเขียนแทนฟังก์ชันใดๆ ในรูปผลบวก หรือปริพันธ์ ของฐาน ที่เป็นฟังก์ชันรูปคลื่น ไซน์หรือ โคไซน.

32 ความสัมพันธ์: ฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่ฟังก์ชันตรีโกณมิติพ.ศ. 2296พ.ศ. 2297พ.ศ. 2338พ.ศ. 2350พ.ศ. 2352พ.ศ. 2354พ.ศ. 2355พ.ศ. 2356พ.ศ. 2359พ.ศ. 2361พ.ศ. 2365พ.ศ. 2367พ.ศ. 2369พ.ศ. 2372พ.ศ. 2402การแปลงฟูรีเยช่วงเวลาสั้นการแปลงฟูรีเยต่อเนื่องอนุกรมอนุกรมฟูรีเยขั้นตอนวิธีคอมพิวเตอร์คณิตศาสตร์ปารีสปีแยร์-ซีมง ลาปลัสแบร์นฮาร์ด รีมันน์โฌแซ็ฟ ฟูรีเยโฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์เยอรมันเลออนฮาร์ด ออยเลอร์21 ธันวาคม

ฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่

ฟังก์ชันคู่ (even functions) และฟังก์ชันคี่ (odd functions) คือ ฟังก์ชันที่มีคุณสมบัติเกี่ยวกับความสมมาตร ฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่มีความสำคัญในคณิตวิเคราะห์หลายสาขา โดยเฉพาะเรื่องอนุกรมกำลัง และอนุกรมฟูรี.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและฟังก์ชันคู่และฟังก์ชันคี่ · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric function) คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิด ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180° เสมอ ในปัจจุบัน มีฟังก์ชันตรีโกณมิติอยู่ 6 ฟังก์ชันที่นิยมใช้กันดังตารางข้างล่าง (สี่ฟังก์ชันสุดท้ายนิยามด้วยความสัมพันธ์กับฟังก์ชันอื่น แต่ก็สามารถนิยามด้วยเรขาคณิตได้) ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันเหล่านี้ อยู่ในบทความเรื่อง เอกลักษณ์ตรีโกณมิต.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและฟังก์ชันตรีโกณมิติ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2296

ทธศักราช 2296 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2296 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2297

ทธศักราช 2297 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2297 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2350

ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2350 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2352 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2354

ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2354 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2355

ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2355 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2356

ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2356 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2359 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2361

ทธศักราช 2361 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2361 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2365

ทธศักราช 2365 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2365 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2367 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2369

ทธศักราช 2369 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2369 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2372

ทธศักราช 2372 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2372 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2402

ทธศักราช 2402 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1859.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและพ.ศ. 2402 · ดูเพิ่มเติม »

การแปลงฟูรีเยช่วงเวลาสั้น

การแปลงฟูรีเยช่วงเวลาสั้น หรือ การแปลงฟูรีเยช่วงสั้น (short-time Fourier transform: STFT) เป็นการแปลงที่มีความสัมพันธ์กับการแปลงฟูรีเย ใช้ในการหาความถี่ และ เฟส ของช่วงใดช่วงหนึ่งของสัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวล.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและการแปลงฟูรีเยช่วงเวลาสั้น · ดูเพิ่มเติม »

การแปลงฟูรีเยต่อเนื่อง

การแปลงฟูรีเยต่อเนื่อง (continuous Fourier transform) เป็นตัวดำเนินการเชิงเส้นแบบหนึ่งซึ่งทำการแมพฟังก์ชันหนึ่งไปยังอีกฟังก์ชันหนึ่ง อีกนัยหนึ่งการแปลงฟูรีเยนั้นเป็นการแยกองค์ประกอบของฟังก์ชัน ตามสเปกตรัมของความถี่ที่มีค่าต่อเนื่อง และใช้หมายถึง ค่าสัญญาณใน "โดเมนของความถี่" ในทางฟิสิกส์และวิศวกรรม (ดูเพิ่มเติมที่บทความหลัก การแปลงฟูรีเย).

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและการแปลงฟูรีเยต่อเนื่อง · ดูเพิ่มเติม »

อนุกรม

ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรม คือผลจากการบวกสมาชิกทุกตัวของลำดับไม่จำกัดเข้าด้วยกัน หากกำหนดให้ลำดับของจำนวนเป็น \.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและอนุกรม · ดูเพิ่มเติม »

อนุกรมฟูรีเย

อนุกรมฟูรีเย ตั้งชื่อตามโฌแซ็ฟ ฟูรีเย อนุกรมฟูรีเยเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ที่มีประโยชน์ เช่นใช้ในการแยกปัญหาออกเป็นส่วนย่อยๆ ที่ง่ายกว่าปัญหาดั้งเดิม โดยอนุกรมฟูรีเย นั้นเป็นการกระจายฟังก์ชันคาบ ที่มีคาบ 2π ให้อยู่ในรูปผลบวกของ ฟังก์ชันคาบในรูป ซึ่งเป็น ฮาร์โมนิก ของ ei x หรือ อาจเขียนในรูปของฟังก์ชัน ไซน์ และ โคไซน์ ดูประวัติที่บทความหลัก การแปลงฟูรี.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและอนุกรมฟูรีเย · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธี

ั้นตอนวิธี หรือ อัลกอริทึม (algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถเข้าใจได้ มีลำดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นเป็นตอนและชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจากการแก้ปัญหาแบบสามัญสำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time), และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง หนึ่งในขั้นตอนวิธีอย่างง่าย คือ ขั้นตอนวิธีที่ใช้หาจำนวนที่มีค่ามากที่สุดในรายการ (ซึ่งไม่ได้เรียงลำดับไว้) ในการแก้ปัญหานี้ เราจะต้องดูจำนวนทุกจำนวนในรายการ ซึ่งมีขั้นตอนวิธีดังนี้.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและขั้นตอนวิธี · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''Euclid''). คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง, การเปลี่ยนแปลง และปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์ ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์ คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์-ซีมง ลาปลัส

ปีแยร์-ซีมง มาร์กี เดอ ลาปลัส (Pierre-Simon, Marquis de Laplace,; 23 มีนาคม พ.ศ. 2292 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2370) นักคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในสมัยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและปีแยร์-ซีมง ลาปลัส · ดูเพิ่มเติม »

แบร์นฮาร์ด รีมันน์

แบร์นฮาร์ด รีมันน์, พ.ศ. 2411 เกออร์ก ฟรีดริช แบร์นฮาร์ด รีมันน์ (Georg Friedrich Bernhard Riemann, 17 กันยายน 2369 - 20 กรกฎาคม 2409) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ที่ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์และอนุพันธ์เชิงเรขาคณิต.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและแบร์นฮาร์ด รีมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ ฟูรีเย

บารอนโฌแซ็ฟ ฟูรีเย นักคณิตศาสตร์ ฌ็อง บาติสต์ โฌแซ็ฟ ฟูรีเย (Jean Baptiste Joseph Fourier; พ.ศ. 2311 - 2373) นักคณิตศาสตร์ เกิดที่เมืองโอแซร์ ประเทศฝรั่งเศส ฟูรีเยได้เดินทางติดตามนโปเลียนไปประเทศอียิปต์ในปี พ.ศ. 2341 หลังจากเดินทางกลับในปี พ.ศ. 2345 ฟูรีเยได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองเกรอนอบล์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2351 ได้รับบรรดาศักดิ์ชั้นบารอน ฟูรีเยได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็นครั้งแรก ในขณะที่กำลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูรีเยก็ได้ค้นพบสมการการไหลนี้ ซึ่งต่อมาได้ตั้งชื่อเป็น "สมการฟูรีเย" เพื่อแก้ปัญหาและพิสูจน์สมการนี้ ฟูรีเยได้แสดงให้เห็นว่าฟังก์ชันหลายฟังก์ชันของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออกเป็นอนุกรมของไซน์ (sines) เชิงซ้อนของตัวแปร ที่เรียกในภายหลังว่า "อนุกรมฟูรีเย" ฌ็อง บาติสต์ โฌแซ็ฟ ฟูรีเย มีชีวิตอยู่ตรงกับสมัยระหว่างสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2311 หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและโฌแซ็ฟ ฟูรีเย · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์

แซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ (Joseph-Louis Lagrange; 25 มกราคม ค.ศ. 1736 - 10 เมษายน ค.ศ. 1813) หรือชื่อเดิมว่า จูเซปเป โลโดวีโก ลากรันจา (Giuseppe Lodovico Lagrangia) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ผู้ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ของเขาในปรัสเซียและฝรั่งเศส ได้สร้างผลงานสำคัญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ไว้มากมาย รวมถึงทฤษฎีจำนวน กลศาสตร์ดั้งเดิม และกลศาสตร์ท้องฟ้า ตามคำแนะนำของออยเลอร์และเดอลอมแบร์ ลากร็องฌ์ได้สืบทอดตำแหน่งของออยเลอร์เมื่อปี..

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและโฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมัน

อรมัน หรือ เยอรมนี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์

องเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ วาดโดยจิตรกร เอ็มมานูเอล ฮันด์มันน์ (Emanuel Handmann) เมื่อ ค.ศ.1753 เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler, 15 เมษายน พ.ศ. 2250 – 18 กันยายน พ.ศ. 2326) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส ได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของโลก เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้คำว่า "ฟังก์ชัน" ในแวดวงคณิตศาสตร์ (ตามคำนิยามของไลบ์นิซ ใน ค.ศ. 1694) ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น y.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและเลออนฮาร์ด ออยเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: การแปลงฟูรีเยและ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Fourier transformการแปลงฟูริเยร์การแปลงฟูเรียร์ผลการแปลงฟูเรียร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »