โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 vs. สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป.. มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 มี 56 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บัญญัติ บรรทัดฐานชัย ชิดชอบชำนิ ศักดิเศรษฐ์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ฟาริดา สุไลมานพ.ศ. 2554พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)พรรคชาติไทยพัฒนาพรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคมพรรคภูมิใจไทยพรรคมาตุภูมิพรรคประชาราชพรรคประชาธิปัตย์พรรคเพื่อแผ่นดินพรรคเพื่อไทยพิเชษฐ์ ตันเจริญกรุง ศรีวิไลการุณ โหสกุลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550ฐานิสร์ เทียนทองยุซรี ซูสารอระนองรักษ์ สุวรรณฉวีรณ ฤทธิชัยวรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์วารุจ ศิริวัฒน์วิรัช รัตนเศรษฐวุฒิชัย กิตติธเนศวรสภาผู้แทนราษฎรไทยสมชาย วงศ์สวัสดิ์...สมชาย เพศประเสริฐสมัคร สุนทรเวชสมเกียรติ ศรลัมพ์สรวงศ์ เทียนทองอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอลงกต มณีกาศอัศวิน วิภูศิริองอาจ วงษ์ประยูรจังหวัดนราธิวาสจุมพฏ บุญใหญ่จตุพร พรหมพันธุ์ถิรชัย วุฒิธรรมทัศนียา รัตนเศรษฐณัชพล ตันเจริญดนุพร ปุณณกันต์ประชา พรหมนอกประชา ประสพดีนรพล ตันติมนตรีนาราชา สุวิทย์นิมุคตาร์ วาบานิคม เชาว์กิตติโสภณนุกูล แสงศิริไชยยศ จิรเมธากรไกร ดาบธรรมเสนาะ เทียนทองเฉลิม อยู่บำรุง ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และบัญญัติ บรรทัดฐาน · บัญญัติ บรรทัดฐานและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และชัย ชิดชอบ · ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ชำนิ ศักดิเศรษฐ์

ำนิ ศักดิเศรษฐ์ (3 มีนาคม พ.ศ. 2490-) รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย เป็นหนึ่งในกำลังสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ในพื้นที่ภาคใต้.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และชำนิ ศักดิเศรษฐ์ · ชำนิ ศักดิเศรษฐ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

บุรณัชย์ สมุทรักษ์

นายแพทย์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ (ชื่อเล่น: ท็อป) หรือที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า หมอท็อป..บัญชีรายชื่อ และ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พล.อ.เมธี สมุทรักษ์ อดีตประธานคณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการหน่วยข่าวกรองทางทหาร และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์วัลย์ สมุทรักษ์ อดีต.ว.สรรหา และ อดีตคณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และบุรณัชย์ สมุทรักษ์ · บุรณัชย์ สมุทรักษ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ฟาริดา สุไลมาน

ร.ฟาริดา สุไลมาน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ อดีตรองโฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และเป็นภริยาของมุข สุไลมาน โฆษกพรรคมาตุภูมิ เคยสังกัดพรรคการเมืองหลายพรรค อาทิ พรรคมาตุภูมิ พรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคภูมิใจไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และฟาริดา สุไลมาน · ฟาริดา สุไลมานและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2554 · พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)

รรคชาติพัฒนา หรือในชื่อเดิมว่า รวมชาติพัฒนา และ รวมใจไทยชาติพัฒนา และ ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2550 โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นสมาชิกจากพรรคการเมืองที่เคยมีอยู่แล้ว อาทิ กลุ่มของนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นต้น จัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยรวม กลุ่มรวมใจไทย เข้ากับ พรรคชาติพัฒนา มีบุคคลสำคัญทางการเมืองหลายคนเข้าร่วม เช่น นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์, ดร.พิจิตต รัตตกุล, รศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์, นายอุทัย พิมพ์ใจชน, นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็นต้น ในวันที่ 15 ตุลาคม..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550) · พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทยพัฒนา

รรคชาติไทยพัฒนา (Chartthaipattana Party) ก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยมีนายกฤต รัตนคามินี เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ต่อมานายชุมพล ศิลปอาชา ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรค นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เป็นเลขาธิการพรรค และนายวัชระ กรรณิการ์ เป็นโฆษกพรรค กระทั่งในปี..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคชาติไทยพัฒนา · พรรคชาติไทยพัฒนาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคพลังประชาชน · พรรคพลังประชาชนและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคกิจสังคม · พรรคกิจสังคมและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคภูมิใจไทย

รรคภูมิใจไทย (ย่อว่า: ภท.) ก่อตั้งเมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 มี นายพิพัฒน์ พรมวราภรณ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก นายมงคล ศรีอ่อน เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และนางวันเพ็ญ ขวัญวงศ์ เป็นโฆษกพรรคคนแรก ในปัจจุบันมีนาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นหัวหน้าพรรคนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรค และนางวาว ศุภมาศ อิศรภักดี เป็นโฆษกพรร.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคภูมิใจไทย · พรรคภูมิใจไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมาตุภูมิ

รรคมาตุภูมิ (Matubhum Party) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคมาตุภูมิ · พรรคมาตุภูมิและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาราช

รรคประชาราช (Royal People Party, ย่อว่า: ปชร.) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยนายเสนาะ เทียนทอง เพื่อที่จะดำเนินงานทางการเมืองหลังลาออกมาจากพรรคไทยรักไทย ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการเลือกตั้งให้ตั้งเป็นพรรคเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคประชาราช · พรรคประชาราชและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคประชาธิปัตย์ · พรรคประชาธิปัตย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อแผ่นดิน

รถหาเสียงของพรรคเพื่อแผ่นดิน ที่จังหวัดเชียงใหม่ ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2550 พรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองไทยซึ่งก่อตั้งในกลางปี พ.ศ. 2550 มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ในช่วงก่อตั้ง นายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ยุทธศาสตร์หาเสียงของพรรคคือ "นำรอยยิ้มกลับสู่สังคมไทย" มีอดีต..ภาคอีสานเป็นสมาชิก เช่น กลุ่มของพินิจ จารุสมบัติ ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ วัฒนา อัศวเหม โสภณ เพชรสว่าง กลุ่มอดีต..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคเพื่อแผ่นดิน · พรรคเพื่อแผ่นดินและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพรรคเพื่อไทย · พรรคเพื่อไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ์ ตันเจริญ

ษฐ์ ตันเจริญ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา พรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเว.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และพิเชษฐ์ ตันเจริญ · พิเชษฐ์ ตันเจริญและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

กรุง ศรีวิไล

กรุง ศรีวิไล มีชื่อจริงว่า กรุงศรีวิไล สุทินเผือก (ชื่อเดิม: นที สุทินเผือก; ชื่อเล่น: เอ๊ด) เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานอย่างเช่นเรื่อง ลูกยอด ชู้ ทอง ตัดเหลี่ยมเพชร ซุปเปอร์ลูกทุ่ง คืนนี้ไม่มีพระจันทร์ มีนัดไว้กับหัวใจ เสาร์ห้า เดียมห์ เพศสัมพันธ์อันตราย แมงดาปีกทอง สาวแรงสูง.

กรุง ศรีวิไลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · กรุง ศรีวิไลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

การุณ โหสกุล

การุณ โหสกุล (4 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12 สังกัดพรรคเพื่อไทย ประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผู้แทนราษฎร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.

การุณ โหสกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · การุณ โหสกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ฐานิสร์ เทียนทอง

นายกองเอก ฐานิสร์ เทียนทอง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว และอดีตประธานหอการค้าจังหวัดสระแก้ว.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และฐานิสร์ เทียนทอง · ฐานิสร์ เทียนทองและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ยุซรี ซูสารอ

ซรี ซูสารอ (เกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2522) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และยุซรี ซูสารอ · ยุซรี ซูสารอและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี

ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเว.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และระนองรักษ์ สุวรรณฉวี · ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

รณ ฤทธิชัย

รณ ฤทธิชัย มีชื่อจริงว่า รณฤทธิชัย คานเขต (12 กันยายน พ.ศ. 2492 -) นักแสดงชาวไทยที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ประจำปี..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และรณ ฤทธิชัย · รณ ฤทธิชัยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

วรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์

นางวรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์ (เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2498) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 3 สมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์ · วรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

วารุจ ศิริวัฒน์

นายวารุจ ศิริวัฒน์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวารุจ ศิริวัฒน์ · วารุจ ศิริวัฒน์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช รัตนเศรษฐ

วิรัช รัตนเศรษฐ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมาหลายสมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวิรัช รัตนเศรษฐ · วิรัช รัตนเศรษฐและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิชัย กิตติธเนศวร

ร.วุฒิชัย กิตติธเนศวร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก อดีตประธานสภาจังหวัดนครนายก 4 สมัย และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย แต่ในการเลือกตั้ง..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และวุฒิชัย กิตติธเนศวร · วุฒิชัย กิตติธเนศวรและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย · สภาผู้แทนราษฎรไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย เพศประเสริฐ

ันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (แกนนำกลุ่มอีสานพัฒนา) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม และอดีตโฆษกกระทรวงมหาดไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสมชาย เพศประเสริฐ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมชาย เพศประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสมัคร สุนทรเวช · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ ศรลัมพ์

นายสมเกียรติ ศรลัมพ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครสวรรค์ และเขาเคยเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้เรียกร้องให้บัญญัติศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสมเกียรติ ศรลัมพ์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมเกียรติ ศรลัมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

สรวงศ์ เทียนทอง

นายสรวงศ์ เทียนทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นบุตรชายของนายเสนาะ เทียนทอง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสรวงศ์ เทียนทอง · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสรวงศ์ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อลงกต มณีกาศ

นายแพทย์อลงกต มณีกาศ (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 -) อดีตโฆษกพรรคเพื่อแผ่นดิน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และอลงกต มณีกาศ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และอลงกต มณีกาศ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน วิภูศิริ

นายอัศวิน วิภูศิริ (เกิด: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพิจิตร) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 33 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการพรรคมหาชน ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคชาติไทย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และอัศวิน วิภูศิริ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และอัศวิน วิภูศิริ · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ วงษ์ประยูร

นายองอาจ วงษ์ประยูร (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และองอาจ วงษ์ประยูร · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และองอาจ วงษ์ประยูร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และจังหวัดนราธิวาส · จังหวัดนราธิวาสและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

จุมพฏ บุญใหญ่

นายจุมพฏ บุญใหญ่ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดสกลนคร จบการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต สาขากฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคำแหง และเนติบัณฑิต สาขากฎหมาย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เมื่อจบแล้วได้ประกอบอาชีพเป็นทนายความและครู.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และจุมพฏ บุญใหญ่ · จุมพฏ บุญใหญ่และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และจตุพร พรหมพันธุ์ · จตุพร พรหมพันธุ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ถิรชัย วุฒิธรรม

นายถิรชัย วุฒิธรรม เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และถิรชัย วุฒิธรรม · ถิรชัย วุฒิธรรมและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนียา รัตนเศรษฐ

นางทัศนียา รัตนเศรษฐ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครราชสีมา เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคมหาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และทัศนียา รัตนเศรษฐ · ทัศนียา รัตนเศรษฐและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ณัชพล ตันเจริญ

นายณัชพล ตันเจริญ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน ปัจจุบันย้ายมาสังกัดพรรคภูมิใจไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และณัชพล ตันเจริญ · ณัชพล ตันเจริญและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และดนุพร ปุณณกันต์ · ดนุพร ปุณณกันต์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ประชา พรหมนอก

ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และประชา พรหมนอก · ประชา พรหมนอกและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ประชา ประสพดี

ประชา ประสพดี (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 7 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และประชา ประสพดี · ประชา ประสพดีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

นรพล ตันติมนตรี

นรพล ต้นติมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน โดยเป็น..เพียงคนเดียวของพรรคเพื่อแผ่นดินที่ชนะการเลือกตั้งในจังหวัดเชียงใหม่ จากการเลือกตั้ง..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และนรพล ตันติมนตรี · นรพล ตันติมนตรีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

นาราชา สุวิทย์

นายนาราชา สุวิทย์ (7 มกราคม พ.ศ. 2512 – 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และนาราชา สุวิทย์ · นาราชา สุวิทย์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

นิมุคตาร์ วาบา

นิมุคตาร์ วาบา (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และนิมุคตาร์ วาบา · นิมุคตาร์ วาบาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

นิคม เชาว์กิตติโสภณ

นายนิคม เชาว์กิตติโสภณ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำปาง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน สังกัดพรรคเพื่อไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และนิคม เชาว์กิตติโสภณ · นิคม เชาว์กิตติโสภณและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

นุกูล แสงศิริ

ันตำรวจโทนุกูล แสงศิริ (เกิด 23 มีนาคม พ.ศ. 2512) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคมัชฌิมาธิปไตย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และนุกูล แสงศิริ · นุกูล แสงศิริและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

ไชยยศ จิรเมธากร

นายไชยยศ จิรเมธากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ครม.อภิสิทธิ์ 5) และอดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และไชยยศ จิรเมธากร · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และไชยยศ จิรเมธากร · ดูเพิ่มเติม »

ไกร ดาบธรรม

นายแพทย์ไกร ดาบธรรม นายแพทย์ผู้ได้รับรางวัลแพทยดีเด่นในชนบท สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรครวมชาติพัฒนา อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลแม่อาย จังหวัดเชียงใหม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และไกร ดาบธรรม · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และไกร ดาบธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และเสนาะ เทียนทอง · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และเฉลิม อยู่บำรุง · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 มี 188 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 มี 490 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 56, ดัชนี Jaccard คือ 8.26% = 56 / (188 + 490)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »