โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 vs. สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป.. มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บุญเท่ง ทองสวัสดิ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงจังหวัดลำปางจังหวัดสระบุรีจังหวัดสงขลาจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดตากถัด พรหมมาณพคล้าย ละอองมณีแปลก พิบูลสงครามไถง สุวรรณทัตเทียม ไชยนันทน์

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และจังหวัดพัทลุง · จังหวัดพัทลุงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และจังหวัดลำปาง · จังหวัดลำปางและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และจังหวัดสระบุรี · จังหวัดสระบุรีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และจังหวัดสงขลา · จังหวัดสงขลาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และจังหวัดอุทัยธานี · จังหวัดอุทัยธานีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และจังหวัดตาก · จังหวัดตากและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

ถัด พรหมมาณพ

นายถัด พรหมมาณพ (พ.ศ. 2443 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2502) อดีตรัฐมนตรีไม่ประจำกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 4 สมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และถัด พรหมมาณพ · ถัด พรหมมาณพและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

คล้าย ละอองมณี

ล้าย ละอองมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และคล้าย ละอองมณี · คล้าย ละอองมณีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และแปลก พิบูลสงคราม · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ไถง สุวรรณทัต

ง สุวรรณทัต อดีตนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และอดีตนักการเมืองชาวไทยที่มีชื่อเสียง อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร (พ.ศ. 2517).

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และไถง สุวรรณทัต · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และไถง สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

เทียม ไชยนันทน์

นายเทียม ไชยนันทน์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2450 - 21 เมษายน พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก 7 สมัย และเป็นบิดาของนายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ ที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และเทียม ไชยนันทน์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7และเทียม ไชยนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 มี 144 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 7.60% = 13 / (27 + 144)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »