การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ)
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ)
การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำ vs. สระ (แหล่งน้ำ)
การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำ (Aquaculture) หรือที่เรียกว่าเป็นเกษตรกรรมในน้ำ (aquafarming) คือการทำฟาร์มสิ่งมีชีวิตในน้ำเช่นปลา สัตว์พวกกุ้งกั้งปู สัตว์จำพวกหอยและปลาหมึก และพืชน้ำ (หมายถึงพืชที่ขึ้นอยู่ในน้ำโดยอาจจะจมอยู่ใต้ น้ำทั้งหมด หรือโผล่บางส่วน ขึ้นมาอยู่เหนือน้ำ ลอยอยู่ที่ผิวน้ำหรือเป็นพืชที่ขึ้นอยู่ตามริมน้ำ ชายตลิ่ง นอกจากนี้ก็ยังรวมถึงพืชที่เจริญเติบโตอยู่ในบริเวณที่ลุ่มน้ำขังแฉะอีกด้วย สามารถจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ Microphytes และ Macrophytes) การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำเกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงประชากรน้ำจืดและน้ำเค็มภายใต้สภาวะควบคุมและเป็นกิจกรรมที่ไม่เหมือนการประมงเชิงพาณิชย์ซึ่งเป็นการจับปลาที่อยู่ตามธรรมชาติหรือปลาป่า (wild fish) พูดกว้างๆ การจับปลาที่มีเหงือก (finfish) และ ปลาที่มีเปลือก (shellfish) เป็นแนวความคิดที่คล้ายกับการล่าสัตว์และการรวบรวมในขณะที่การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำจะคล้ายกับเกษตรกรรม การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในทะเล (Mariculture) หมายถึงการเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในสภาพแวดล้อมทางทะเลและในแหล่งที่อยู่อาศัยในใต้น้ำ ตาม FAO การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำ "เป็นที่เข้าใจกันว่าหมายถึงการทำฟาร์มของสิ่งมีชีวิตในน้ำรวมทั้งปลา หอย กุ้งและพืชน้ำ การทำฟาร์มหมายถึงบางรูปแบบของการแทรกแซงในกระบวนการเลี้ยงเพื่อเพิ่มการผลิตเช่นการเลี้ยงด้วยจำนวนประชากรปลาปกติ การให้อาหาร การป้องกันนักล่า ฯลฯ การทำฟาร์มนอกจากนี้ยังหมายถึงการเป็นเจ้าของโดยบุคคลหรือองค์กรของประชากรที่มีการเพาะเลี้ยง" ผลผลิตตามรายงานจากการดำเนินงานเพาะเลี้ยงระดับโลกจะจัดหาครึ่งหนึ่งของปลาและกุ้งหอยที่มีการบริโภคโดยตรงโดยมนุษย์ อย่างไรก็ตาม มีปัญหาเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของตัวเลขที่อยู่ในรายงาน นอกจากนี้ในทางปฏิบัติการเพาะเลี้ยงในปัจจุบันผลิตภัณฑ์จากหลายปอนด์ของปลาที่จับได้ตามธรรมชาติถูกนำมาใช้ในการผลิตเพียงหนึ่งปอนด์ของปลากินปลาเป็นอาหาร (piscivorous) เช่นปลาแซลมอนSeafood Choices Alliance (2005) การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์น้ำเฉพาะอย่างเช่นการเลี้ยงปลา การเลี้ยงกุ้ง การเลี้ยงหอยนางรม เพาะเลี้ยงสัตว์และพืชในทะเล, algaculture (เช่นการเลี้ยงสาหร่ายทะเล) และการเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม วิธีการเฉพาะจะได้แก่ การเพาะเลี้ยงไม่ใช้ดิน (aquaponics) และเพาะเลี้ยงแบบหลายโภชนาการแบบบูรณาการ ซึ่งทั้งสองอย่างบูรณาการการเลี้ยงปลาและการทำฟาร์มพื. ระในประเทศโปแลนด์ สระหรือบ่อ เป็นแหล่งน้ำนิ่งที่ปกติเล็กกว่าทะเลสาบ โดยอาจเกิดตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นก็ได้ สระอาจเกิดตามธรรมชาติในที่ลุ่มน้ำท่วมถึงเป็นส่วนหนึ่งของระบบแม่น้ำ หรืออาจเป็นแอ่งแยกต่างหากก็ได้ สระอาจมีน้ำตื้นและมีพืชและสัตว์ที่เติบโตในน้ำและที่ลุ่มชื้นแฉะ ชนิดของสิ่งมีชีวิตในสระโดยทั่วไปตัดสินจากปัจจัยต่าง ๆ รวมกันได้แก่ระดับน้ำ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลึกและระยะเวลาที่น้ำขัง) และระดับสารอาหาร แต่ปัจจัยอื่นก็มีความสำคัญ เช่น การมีหรือไม่มีร่มเงาของไม้ต้น การมีหรือไม่มีลำธาร ผลของสัตว์ที่มากินหญ้า และความเค็ม บ่อยครั้งมนุษย์สร้างสระ ในชนบทเกษตรกรและชาวบ้านขุดสระในสวนหลังบ้านหรือขุดลอกสระที่มีอยู่แล้วโดยตักโคลนระหว่างฤดูร้อนออก มีแหล่งน้ำมนุษย์สร้างขึ้นหลายชนิดที่จัดเป็นสระ บางสระสร้างขึ้นจำเพาะเพื่อฟื้นฟูที่อยู่อาศัยของสัตว์ รวมทั้งการบำบัดน้ำ อย่างอื่นเช่น สวนน้ำ สระออกแบบมาเพื่อประดับตกแต่งเป็นภูมิทัศน์หรือลักษณะทางสถาปัตยกรรมอื่น บ่อปลาออกแบบมาเพื่อเพาะเลี้ยงปลาขาย และบ่อแสงอาทิตย์ออกแบบเพื่อเก็บรักษาพลังงานความร้อน แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระและทะเลสาปมักจำแนกแยกจากแหล่งน้ำไหล เช่น ลำห้วย ลำธาร ธารน้ำหรือแม่น้ำ ระดับสารอาหารและคุณภาพน้ำในสระสามารถควบคุมได้จากกระบวนการธรรมชาติอย่างการเติบโตของสาหร่าย หรือการกรองโดยมนุษ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ)
การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ) มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ) มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ)
การเปรียบเทียบระหว่าง การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ)
การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำ มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ สระ (แหล่งน้ำ) มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 2)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำและสระ (แหล่งน้ำ) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: