โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเปล่งแสงและพ.ศ. 2447

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การเปล่งแสงและพ.ศ. 2447

การเปล่งแสง vs. พ.ศ. 2447

รื่องโลหะร้อนเปล่งแสงในช่วงที่มองเห็นได้ รังสีความร้อนนี้ยังขยายไปในช่วงอินฟราเรด ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตามนุษย์และกล้องที่จับภาพนี้ แต่กล้องอินฟราเรดจะเห็น การเปล่งแสง (incandescence) คือ การปลดปล่อยแสง ซึ่งเป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่มองเห็นได้ จากวัตถุร้อนเนื่องจากอุณหภูมิของมัน ในเชิงปฏิบัติ สสารในสถานะของแข็งหรือของเหลวเกือบทุกชนิดเริ่มเปล่งแสงที่อุณหภูมิประมาณ 798K (525°C) โดยมีสีแดงมัวมาก เพราะไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นซึ่งทำให้เกิดแสงอันเป็นผลมาจากกระบวนการคายความร้อน ขีดจำกัดนี้เรียกว่า จุดเดรพเพอร์ การเปล่งแสงนั้นไม่ได้หายไปอย่างสิ้นเชิงในอุณหภูมิต่ำกว่านั้น เพียงแต่อ่อนเกินไปในสเปกตรัมที่มองเห็นได้กว่าที่จะสังเกตได้ การเปล่งแสงนั้นเกิดขึ้นในหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา ซึ่งไส้หลอดนั้นได้รับความร้อนจนถึงอุณหภูมิที่ส่วนหนึ่งของรังสีตกอยู่ในช่วงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ อย่างไรก็ดี รังสีส่วนใหญ่ปลดปล่อยในช่วงคลื่นอินฟราเรดของสเปกตรัม จึงทำให้หลอดไส้เป็นแหล่งกำเนิดแสงที่ค่อนข้างไร้ประสิทธิภาพ หลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่ได้ทำงานโดยหลักการเปล่งแสง แต่ใช้การปล่อยเนื่องจากความร้อนและการกระตุ้นของอะตอมเนื่องจากการชนกับอิเล็กตรอนพลังงานสูงแทน ในหลอดไส้ มีเพียงอิเล็กตรอนบนยอดแถบเท่านั้นที่สามารถชนได้ ขณะที่อุณหภูมิที่สูงขึ้นสามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ แต่ปัจจุบันยังไม่มีวัสดุที่สามารถทนอุณหภูมิเช่นนั้นได้ซึ่งเหมาะที่จะใช้ในหลอดไฟ. ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเปล่งแสงและพ.ศ. 2447

การเปล่งแสงและพ.ศ. 2447 มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การเปล่งแสงและพ.ศ. 2447

การเปล่งแสง มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2447 มี 84 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 84)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเปล่งแสงและพ.ศ. 2447 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »