โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเต้นรำและบัลเลต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การเต้นรำและบัลเลต์

การเต้นรำ vs. บัลเลต์

การเต้นรำ คือการเคลื่อนไหวร่างกายและการขยับตัวไปตามจังหวะเพลง มันมีการเต้นรำที่หลากหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น การเต้นรำหมู่ การเต้นแจ๊ซ บัลเลต์ เต้นแท็ป บอลล์รูม ฟังก์ การเต้นเบรกแดนซ์ หรือการเต้นแบบไทยเช่นการรำวง การรำฟ้อน การเต้นรำแสดงถึงการมีความแข็งแกร่งและความอ่อนแอในจังหวะที่เป็นไปตามเพลง แสดงถึงความโรแมนติค ความเป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี และการ มีวัฒนธรรม การเต้นรำเป็นการเคลื่อนไหวของมนุษย์ที่แสดงออกทางสังคม และจิตวิญญาณ และเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เป็นศาสตร์คือมีกฎที่ควบคุมแน่นอน ตายตัว เป็นศิลป์คือเราแสดงตัวตนที่แท้จริง การแสดงถึงจินตนาการ การเต้นรำอาจทำเป็นกลุ่ม อย่างน้อย 2-3 คน. Classical bell tutus in ''The Dance Class'' by Degas, 1874 บัลเลต์ บัลเลต์ (ballet) หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยการเต้น และ ดนตรีมีลักษณะเช่นเดียวกับอุปรากร เพียงแต่บัลเลต์เป็นการนำเสนอเนื้อเรื่อง โดยใช้การเต้นเป็นสื่อ มีกำเนิดขึ้นในระหว่างศตวรรษที่ 15 ที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ได้แพร่หลายเข้าไปในประเทศอิตาลี การพัฒนาในยุคนี้คือ นิยมให้ผู้หญิงเป็นผู้แสดงเอก เรียกว่า บัลเลรินา (Ballerina) ศตวรรษที่ 20 บัลเลต์ได้รับการพัฒนาให้มีรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โมเดิร์นแดนซ์ (Modern Dance) คือ การนำเอาหลักของบัลเลต์มาผสมผสานดัดแปลงให้เป็นการเต้น โดยไม่ต้องใส่รองเท้าบัลเลต์และไม่ต้องใช้ปลายเท้าในลักษณะของบัลเลต์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการประพันธ์เพลงบัลเลต์ ได้แก่ ไชคอฟสกี โปรโกเฟียฟ คอปแลนด์ และฟัล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเต้นรำและบัลเลต์

การเต้นรำและบัลเลต์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การเต้นรำและบัลเลต์

การเต้นรำ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ บัลเลต์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (10 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเต้นรำและบัลเลต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »