การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์
การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์ vs. ตามนุษย์
การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์ เป็นการศึกษาการเจริญของมนุษย์ระหว่างแปดสัปดาห์แรกตั้งแต่การเกิดเซลล์สืบพันธุ์ (การเจริญของสเปิร์มและโอโอไซต์) ผ่านการปฏิสนธิ (การผสมสเปิร์มกับโอโอไซต์) ไปจนถึง 8 สัปดาห์หลังการฝังตัวของไซโกต (ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ) ในมดลูก หลังสัปดาห์ที่ 8 ของการฝังตัว เอ็มบริโอที่กำลังเจริญกลายเป็นทารกในครรภ์ โดยปกติ บุคคลส่วนใหญ่ใช้เวลาเก้าเดือนแรกของชีวิต (38 สัปดาห์ หรือ 266 วัน) ภายในมดลูกของมารดา การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์เป็นขบวนการการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนสภาพของเซลล์ของเอ็มบริโอมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงแรกของการเจริญ ซึ่งการเจริญของมนุษย์นั้นเริ่มตั้งแต่เซลล์สืบพันธุ์ (โอวุมและตัวอสุจิ) ผ่านการปฏิสนธิ การเจริญก่อนคลอด และเติบโตสู่วัยผู้ใหญ่ ระหว่างขั้นนี้ การปฏิสนธิสร้างไซโกต ซึ่งนิยามเป็นเอ็มบริโอ เพราะมีสารพันธุกรรมครบถ้วน ในมนุษย์ เอ็มบริโอถูกเรียกว่าทารกในครรภ์ในการเจริญก่อนคลอดขั้นหลัง การเปลี่ยนจากเอ็มบริโอเป็นทารกในครรภ์นั้นไม่มีกำหนดชัดเจน แต่เกิด 8 สัปดาห์หลังการปฏิสนธิหรือ 8 สัปดาห์หลังการฝังตัว ทารกในครรถ์มีลักษณะภายนอกเห็นได้ชัดเจนว่าเอ็มบริโอ และมีกลุ่มอวัยวะภายในที่กำลังเจริญสมบูรณ์กว่า ขบวนการทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการประสานการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีน การเติบโตและการเปลี่ยนสภาพของเซลล์บางตำแหน่งชั่วคราว ขบวนการที่เกือบเหมือนกันยังเกิดในสปีชีส์อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบรรดาสัตว์มีแกนสันหลัง หมวดหมู่:คัพภวิทยา หมวดหมู่:ชีววิทยาการเจริญ. ตามนุษย์ เป็นอวัยวะที่ตอบสนองต่อแสงและแรงดัน ในฐานะเป็นอวัยวะรับความรู้สึก ตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทำให้สามารถเห็นได้ ช่วยให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเป็น 3 มิติ และปกติเห็นเป็นสีในช่วงกลางวัน เซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยในจอตาทำให้สามารถรับรู้แสงและเห็น รวมทั้งแยกแยะสีและรับรู้ความใกล้ไกล ตามนุษย์สามารถแยกแยะสีได้ประมาณ 10 ล้านสี และอาจสามารถตรวจจับโฟตอนแม้เพียงอนุภาคเดียวได้ เหมือนกับตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ เซลล์ปมประสาทไวแสง (photosensitive ganglion cell) ในจอตามนุษย์ซึ่งไม่ช่วยให้เห็นภาพ จะได้สัญญาณแสงซึ่งมีผลต่อการปรับขนาดรูม่านตา ควบคุมและระงับการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน และปรับตัวทางสรีรภาพและพฤติกรรมตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm).
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์
การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์
การเปรียบเทียบระหว่าง การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์
การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์ มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตามนุษย์ มี 107 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (7 + 107)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การเกิดเอ็มบริโอมนุษย์และตามนุษย์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: