โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ vs. การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น. การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน เป็นมาตรการหนึ่งในการตรวจสอบป้องกันการฉ้อราษฎร์บังหลวง โดยกำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต้องยื่นแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีขึ้นทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งหรือพ้นจากตำแหน่ง โทษของการไม่ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน มีข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริง คือ พ้นจากตำแหน่งหรือถูกตัดสินมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ส่วนผู้ที่มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติจะถูกดำเนินคดีโดยให้ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นนั้นตกเป็นของแผ่นดิน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน

การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

การอภิปรายไม่ไว้วางใจและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.45% = 1 / (27 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การอภิปรายไม่ไว้วางใจและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »