ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหารและวิธีหารแบบยุคลิด
การหารและวิธีหารแบบยุคลิด มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การหารยาวการหารด้วยศูนย์ค่าสัมบูรณ์
การหารยาว
การหารยาว คือกระบวนการอย่างหนึ่งเพื่อคำนวณการหาร โดยมีจำนวนเต็มเป็นตัวตั้งหาร (dividend) และจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่งเป็นตัวหาร (divisor) เพื่อที่จะให้ได้ผลหาร (quotient) พร้อมเศษเหลือจากการหาร (remainder) การหารยาวจำเป็นต้องเตรียมเนื้อที่สำหรับเขียนจำนวนพอสมควร และเป็นวิธีการหารที่ง่ายถึงแม้ตัวตั้งหารเป็นจำนวนขนาดใหญ่ เนื่องจากกระบวนการนี้จะแบ่งตัวตั้งหารออกเป็นจำนวนย่อยๆ ที่เล็กลงสำหรับการหาร ตัวอย่างสัญกรณ์ที่ใช้ การหาร 500 ด้วย 4 ซึ่งได้คำตอบเป็น 125 สามารถเขียนในรูปแบบดังนี้ \begin \quad 125\\ 4\overline\\ \end ÷.
การหารและการหารยาว · การหารยาวและวิธีหารแบบยุคลิด ·
การหารด้วยศูนย์
ในทางคณิตศาสตร์ การหารด้วยศูนย์ หมายถึงการหารที่มีตัวหารเท่ากับ 0 ซึ่งอาจสามารถเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน \textstyle\frac โดยที่ a เป็นตัวตั้ง ค่าของนิพจน์นี้จะมีความหมายหรือไม่ขึ้นอยู่กับบทตั้งทางคณิตศาสตร์ที่เป็นบริบท แต่โดยทั่วไปในเลขคณิตของจำนวนจริง นิพจน์ดังกล่าวไม่มีความหมาย สำหรับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การหารด้วยศูนย์ในจำนวนเต็มอาจทำให้โปรแกรมเกิดข้อผิดพลาดจนหยุดทำงาน หรือในกรณีของจำนวนจุดลอยตัวอาจให้ผลลัพธ์เป็นค่าพิเศษที่เรียกว่า NaN (Not a Number).
การหารและการหารด้วยศูนย์ · การหารด้วยศูนย์และวิธีหารแบบยุคลิด ·
ค่าสัมบูรณ์
้ากำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง แล้วระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวนจริง a ว่า ค่าสมบูรณ์ กำหนดให้ค่าสัมบูรณ์ในเนื้อหาจำนวนเต็มหมายถึงระยะจากจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวนเต็ม a ว่า ค่าสมบูรณ์ มีสัญลักษณ์คือ |a| และค่าสมบูรณ์ไม่เป็นจำนวนลบ ค่าสัมบูรณ์จะเป็นจำนวนบวกหรือศูนย์เสมอ นั่นคือจะไม่มีค่า a ที่ |a| ||a| − |b||.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การหารและวิธีหารแบบยุคลิด มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหารและวิธีหารแบบยุคลิด
การเปรียบเทียบระหว่าง การหารและวิธีหารแบบยุคลิด
การหาร มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิธีหารแบบยุคลิด มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 13.04% = 3 / (13 + 10)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การหารและวิธีหารแบบยุคลิด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: