โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การหลอกลวงตัวเองและความไม่ลงรอยกันทางประชาน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การหลอกลวงตัวเองและความไม่ลงรอยกันทางประชาน

การหลอกลวงตัวเอง vs. ความไม่ลงรอยกันทางประชาน

การหลอกลวงตัวเอง (Self-deception) เป็นกระบวนการปฏิเสธหรือให้เหตุผลแก้ต่างว่า หลักฐานหรือเหตุผลที่คัดค้านความคิดความเชื่อของตน ไม่อยู่ในประเด็นหรือไม่สำคัญ เป็นการที่ทำให้ตัวเองเชื่อเรื่องความจริง (หรือความไม่จริง) อย่างหนึ่ง โดยวิธีที่ไม่ปรากฏกับตนว่ากำลังหลอกตัวเอง. ในสาขาจิตวิทยา ความไม่ลงรอยกันทางประชาน (cognitive dissonance) เป็นความตึงเครียดทางใจ (mental stress) หรือความไม่สบายใจประสบโดยบุคคลที่มีความเชื่อ แนวคิด หรือค่านิยม สองอย่างหรือมากกว่านั้น ที่ขัดแย้งกันในเวลาเดียวกัน หรือว่าได้ข้อมูลใหม่ที่ขัดแย้งกับความเชื่อ แนวคิด หรือค่านิยมที่มีอยู่ ทฤษฎีที่คิดค้น.ดร.ลีออน เฟสติงเกอร์ นี้ พุ่งความสนใจไปที่ความพยายามของมนุษย์ที่จะมีความกลมกลืนกันทางใจ ดังนั้น บุคคลที่ประสบกับความไม่กลมกลืนกัน คือ ความไม่ลงรอยกันทางประชาน มักจะรู้สึกไม่สบายใจ และเกิดแรงจูงใจที่จะลดระดับความไม่ลงรอยกัน และหลีกเลี่ยงทั้งสถานการณ์และข้อมูลที่จะเพิ่มความไม่ลงรอยกันนั้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหลอกลวงตัวเองและความไม่ลงรอยกันทางประชาน

การหลอกลวงตัวเองและความไม่ลงรอยกันทางประชาน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จิตวิทยาความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผลความเชื่อ

จิตวิทยา

ตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม.

การหลอกลวงตัวเองและจิตวิทยา · ความไม่ลงรอยกันทางประชานและจิตวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล

วามปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล หรือ การคิดตามความปรารถนา (Wishful thinking) เป็นการตั้งความเชื่อและการตัดสินใจ ตามสิ่งที่เราชอบใจ แทนที่จะตามหลักฐาน เหตุผล หรือความเป็นจริง เป็นผลของการแก้ความขัดแย้งกันระหว่างความเชื่อและความต้องการ งานศึกษาต่าง ๆ แสดงผลเหมือน ๆ กันว่า เมื่อตัวแปรอื่น ๆ เท่ากัน เราจะพยากรณ์ผลที่ดีน่าชอบใจว่า มีโอกาสเกิดขึ้นมากกว่าผลร้าย แต่ก็มีงานวิจัยในปี..

การหลอกลวงตัวเองและความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล · ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผลและความไม่ลงรอยกันทางประชาน · ดูเพิ่มเติม »

ความเชื่อ

วามเชื่อ (belief) หมายถึง การยอมรับว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นความจริง หรือมีการดำรงอยู่จริง โดยอาศัยประสบการณ์ตรง การไตร่ตรอง หรือการอนุมาน.

การหลอกลวงตัวเองและความเชื่อ · ความเชื่อและความไม่ลงรอยกันทางประชาน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การหลอกลวงตัวเองและความไม่ลงรอยกันทางประชาน

การหลอกลวงตัวเอง มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ ความไม่ลงรอยกันทางประชาน มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 9.68% = 3 / (26 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การหลอกลวงตัวเองและความไม่ลงรอยกันทางประชาน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »