การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู
การหมัก (ชีวเคมี) vs. น้ำส้มสายชู
งที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก สำหรับความหมายอื่นดูที่ การหมักดอง การหมัก (Fermentation; มาจากภาษาละติน Fervere หมายถึง "เดือด") เป็นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารประกอบอินทรีย์ด้วยเอนไซม์ โดยมีสารอินทรีย์เป็นทั้งตัวให้และตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่งต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิเจนที่ใช้ออกซิเจนที่เป็นสารอนินทรีย์เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ในครั้งแรกคำว่าการหมักใช้อธิบายลักษณะที่เกิดจากการทำงานของยีสต์ในน้ำผลไม้ เพราะยีสต์ย่อยสลายน้ำตาลในสภาวะที่ไร้ออกซิเจน จึงเกิดฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ผุดขึ้นมาเหมือนน้ำเดือด เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในหนังสือ alchemy แต่เริ่มใช้ในความหมายปัจจุบันเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 16. Balsamic vinegar น้ำส้มสายชูแดงและขาว น้ำส้มสายชูที่บรรจุขวดรวมกับเครื่องเทศและสมุนไพร น้ำส้มสายชู เป็นของเหลวที่ได้จากกระบวนการหมัก มีองค์ประกอบหลักคือกรดน้ำส้ม (กรดอะซิติก) น้ำส้มสายชูทั่วไปมีความเข้มข้นของกรดตั้งแต่ 4% ถึง 8% โดยปริมาณ และอาจสูงถึง 18% สำหรับ pickling.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู
การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรดน้ำส้ม
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู
การเปรียบเทียบระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู
การหมัก (ชีวเคมี) มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ น้ำส้มสายชู มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 11.11% = 1 / (6 + 3)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การหมัก (ชีวเคมี)และน้ำส้มสายชู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: