โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต

การสืบเชื้อสายร่วมกัน vs. นิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต

ในสาขาชีววิทยาวิวัฒนาการ การสืบเชื้อสายร่วมกัน หรือ การสืบสกุลร่วมกัน (Common descent) เป็นทฤษฎีที่อธิบายว่ากลุ่มสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ ได้มีบรรพบุรุษร่วมกันใกล้สุด (most recent common ancestor, MRCA) อย่างไร มีหลักฐานว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกัน และในปี 2559 นักวิทยาศาสตร์ก็ได้ระบุยีน 355 ตัวจากบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันจะมีบรรพบุรุษร่วมกันในช่วงการเกิดสปีชีส์ ที่สปีชีส์ต่าง ๆ จะกำเนิดจากกลุ่มบรรพบุรุษเดียวกัน โดยกลุ่มที่มีบรรพบุรุษร่วมกันใกล้กันกว่า ก็จะเป็นญาติใกล้ชิดกันมากกว่า และสิ่งมีชีวิตที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมดก็ได้มีบรรพบุรุษร่วมกันที่เรียกว่า บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) ซึ่งมีชีวิตประมาณ 3,900 ล้านปีก่อน (โดยโลกเกิดเมื่อ 4,450 ล้านปี ± 1% ก่อน) หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก 2 ชิ้นก็คือ. นิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต (Nicotinamide adenine dinucleotide phosphate; NADP+) หรือไตรฟอสโฟไพริดีนนิวคลีโอไทด์ (triphosphopyridine nucleotide; TPN) เป็นโคแฟกเตอร์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ เช่น การสร้างไขมัน นิวคลีโอไทด์และกรดนิวคลีอิก ซึ่งต้องใช้ NADPH เป็นตัวให้อิเล็กตรอน NADPH ต่างจาก NADH ตรงที่มีหมู่ฟอสเฟตเพิ่มที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 ของน้ำตาลไรโบสซึ่งจับกับเบสอะดีนีน หมวดหมู่:เซลล์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต

การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): นิวคลีโอไทด์

นิวคลีโอไทด์

รงสร้างของนิวคลีโอไทด์ที่พบบ่อย นิวคลีโอไทด์ (nucleotide) เป็นโครงสร้างพื้นฐานของกรดนิวคลีอิก ซึ่งประกอบด้วย นิวคลีโอไซด์ (neucleoside) กับหมู่ฟอสเฟต โดยนิวคลีโอไซด์ประกอบด้วยไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base; เรียกสั้นๆว่าเบส) กับน้ำตาลเพนโทส (มีคาร์บอน 5 โมเลกุล) ทั้งนี้เบสแบ่งตามโครงสร้างได้เป็นสองกลุ่มคือ ไพริมิดีน (โครงสร้างมี 1 วง) ได้แก่ ไซโตซีน (C) ไทมีน (T) และยูราซิล (U) และเบสไพรีน (โครงสร้างมี 2 วง) ได้แก่ อะดีนีน (A) กวานีน (G) ในการรวมตัวเป็นนิวคลีโอไทด์ เบสจะต่อกับคาร์บอนตัวที่ 1 ของน้ำตาลเพนโทส และฟอสเฟตต่อกับน้ำตาลตัวที่ 5 ของเพนโทส น้ำตาลเพนโทสที่พบในนิวคลีโอไทด์มีสองชนิดคือน้ำตาลไรโบสกับน้ำตาลดีออกซีไร.

การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิวคลีโอไทด์ · นิวคลีโอไทด์และนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต

การสืบเชื้อสายร่วมกัน มี 64 ความสัมพันธ์ขณะที่ นิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.45% = 1 / (64 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การสืบเชื้อสายร่วมกันและนิโคตินาไมด์อะดินีนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »