โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช vs. คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม.. ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกรมประชาสัมพันธ์กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)ยูทูบราชกิจจานุเบกษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสรรเสริญ แก้วกำเนิดความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทยประยุทธ์ จันทร์โอชาแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโรงพยาบาลศิริราชเฟซบุ๊ก

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

กรมประชาสัมพันธ์และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · กรมประชาสัมพันธ์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและยูทูบ · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และยูทูบ · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและราชกิจจานุเบกษา · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ แก้วกำเนิด

ลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก ราชองครักษ์เวร ในคณะรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา รักษาราชการแทนอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 59/2557 รองผู้บัญชาการโรงเรียนกิจการพลเรือน กรมกิจการพลเรือนทหารบก กรรมการในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ และคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อดีตโฆษกกองทัพบก อดีตโฆษกศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และอดีตโฆษกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) พลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด ศึกษาที่โรงเรียนอรุณประดิษฐ จังหวัดเพชรบุรี ระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี และเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 23 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) รุ่นที่ 34 และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ในปี พ.ศ. 2530 เป็นผู้บังคับหมวดลาดตระเวน กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ ซึ่งการที่พลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิดเลือกอยู่เหล่าทหารม้าเนื่องจากได้รับคำแนะนำจาก พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล.แดง ซึ่งในขณะนั้น.แดงเป็นอาจารย์วิชาทหารม้าและสอนพลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิดอยู่ที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พลโทสรรเสริญ แก้วกำเนิด เคยมีบทบาทในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535ขณะนั้นเป็นผู้บังคับกองร้อยนำกำลังคุมฝูงชน จากนั้นเป็นรองผู้อำนวยการกองปฏิบัติการจิตวิทยา ของกรมกิจการพลเรือนทหารบก ยังได้รับการมอบหมายจาก พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ให้ลงไปปฏิบัติงานที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และยังช่วยงานการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (คปค.) หลังการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ในเวลาต่อมาได้รับตำแหน่งเป็นโฆษกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ในปี พ.ศ. 2551 รับตำแหน่งเป็นโฆษกกองทัพบก จนเป็นโฆษกศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และโฆษกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ในการชุมนุมของกลุ่ม นปช. พ.ศ. 2553 เนื่องจากในการออกแถลงการณ์และประกาศต่าง ๆ ของ ศอฉ.เพื่อรายงานให้แก่ประชาชนทราบเป็นระยะ ซึ่งทำให้ประชาชนคุ้นหน้าคุ้นตากันเป็นอย่างดี ด้วยมาดนุ่ม ๆ น้ำเสียงทุ้ม ๆ และมุกตลกหน้าตาย ยังได้รับการพูดถึงในเว็บไซต์พันทิป โดยเปรียบเทียบกับ เคน ธีรเดช ดารานักแสดง นอกจากมียังมีแฟนเพจบนเว็บไซต์เฟซบุ๊กของผู้พันไก่อู หรือแม้แต่ในทวิตเตอร์ของ อ.ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย นักการตลาด กรรมการจากรายการ SME ตีแตก ยังพูดถึงว่า หากนำผู้พันไก่อูมาพร้อมกับ ดร.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสรรเสริญ แก้วกำเนิด · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และสรรเสริญ แก้วกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย

วามผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี" ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ คนไทยหรือคนต่างด้าวไม่ว่ากระทำในหรือนอกราชอาณาจักรก็ต้องรับโทษ ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับเรื่อยมามีข้อที่กล่าวว่า "องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้" ในประมวลกฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย "หมิ่นประมาท" หรือ "ดูหมิ่น" ลักษณะการกระทำความผิดมีหลากหลาย แล้วแต่ศาลจะพิเคราะห์เจตนา เช่น ปราศรัยในที่สาธารณะ ส่งสารสั้น โพสต์รูปภาพ เผยแพร่เอกสารหรือวีดิทัศน์ ละเมิดพระบรมฉายาลักษณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีข้อโต้แย้งว่า ความผิดต่อองคมนตรีเข้าข่ายความผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า คำว่า "พระมหากษัตริย์" ยังหมายความรวมถึง พระมหากษัตริย์ในอดีตด้วย ธานินทร์ กรัยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ไม่เคยฟ้องร้องเป็นการส่วนพระองค์ ผู้ถูกตั้งข้อหามักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล องค์การนิรโทษกรรมสากลถือว่านักโทษตามความผิดนี้เป็นนักโทษการเมือง มีบุคคลส่วนหนึ่งเลือกเดินทางออกนอกประเทศเพื่อมิให้ถูกดำเนินคดี และยังมีผู้ต้องหาและผู้ต้องขังตามความผิดดังกล่าวฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ โฆษกศาลยุติธรรม มีความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องขังในคดีทำนองนี้ว่า "...บุคคลที่เจนโลกโชกโชน สันดานเป็นโจรผู้ร้าย มีเจตนาทำร้ายสังคม สถาบันหลักของประเทศชาติ และองค์พระประมุขอันเป็นที่เคารพสักการ...ไม่มีใครอยากให้คนเช่นนี้ลอยนวลอยู่ในสังคมเพื่อสร้างความเสียหายต่อเนื่องหรือแก่ผู้อื่นอีก..." และแสดงความเห็นว่า "…ถ้าคดีใดอัยการโจทก์สามารถนำสืบพิสูจน์จนให้ศาลเห็นและเชื่อได้ว่า จำเลยมีเจตนาชั่วร้...จำเลยในคดีนั้นก็สมควรที่จะได้รับโทษานุโทษตามความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดี..." โดยที่ศาลมิต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำเลย หลังรัฐประหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังกล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 เป็นกฎหมายว่าด้วยการหมิ่นประมาทราชวงศ์ซึ่งระวางโทษรุนแรงที่สุดในโลก และถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า "โหดร้ายป่าเถื่อน" บ่อนทำลายกฎหมายไทย ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตรัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าคุก.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ · คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่าคณะรัฐมนตรี และได้ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน จำนวนรัฐมนตรีในคณะนั้นเป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่บังคับใช้อยู่ขณะนั้น ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีมีรัฐมนตรีได้ไม่เกิน 35 คน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรี คณะที่ 61เป็นคณะรัฐมนตรีชุดล่าสุดจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย · คณะรัฐมนตรีไทยและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและประยุทธ์ จันทร์โอชา · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและโรงพยาบาลศิริราช · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

เฟซบุ๊ก

ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและเฟซบุ๊ก · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61และเฟซบุ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มี 128 ความสัมพันธ์ขณะที่ คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 มี 250 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 3.70% = 14 / (128 + 250)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »