ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การสลายให้อนุภาคแอลฟาและอนุภาคแอลฟา
การสลายให้อนุภาคแอลฟาและอนุภาคแอลฟา มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยูเรเนียมฮีเลียมทอเรียมเลขอะตอม
ยูเรเนียม
ูเรเนียม (Uranium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 92 และสัญลักษณ์คือ U เป็นธาตุโลหะหนักกัมมันตรังสี ตามธรรมชาติมีลักษณะสีเงินวาว อยู่ในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide group) ไอโซโทป U-235 ใช้เป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และอาวุธนิวเคลียร์ ตามธรรมชาติพบยูเรเนียมในปริมาณเล็กน้อยในหิน ดิน น้ำ พืช และสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ด้วย ครึ่งชีวิตของธาตุยูเรเนียมคือ 4,500 ล้านปี (U-238).
การสลายให้อนุภาคแอลฟาและยูเรเนียม · ยูเรเนียมและอนุภาคแอลฟา ·
ฮีเลียม
ีเลียม (Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยว.
การสลายให้อนุภาคแอลฟาและฮีเลียม · อนุภาคแอลฟาและฮีเลียม ·
ทอเรียม
ทอเรียม (Thorium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 90 และสัญลักษณ์คือ Th เป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสีที่พบในธรรมชาติเมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่ม เมื่อสัมผัสกับอากาศจะหมองเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำเพราะเกิดอ๊อกไซด์ คือ ทอเรียมอ๊อกไซด์ (Thorium oxide (ThO2))หรือทอเรีย(thoria)เป็นอ๊อกไซด์ที่มีจุดเดือดสูงที่สุด(3300 °C) เมื่อถูกทำให้ร้อนในอากาศโลหะทอเรียมจะติดไฟได้เองเกิดเป็นแสงจ้าสีขาว มีอัตราการแผ่รังสีมากกว่ายูเรเนียม มักใช้ในการทำปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หมวดหมู่:วัสดุนิวเคลียร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:สารก่อมะเร็ง.
การสลายให้อนุภาคแอลฟาและทอเรียม · ทอเรียมและอนุภาคแอลฟา ·
เลขอะตอม
เลขอะตอม (atomic number) หมายถึงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้นๆ หรือหมายถึงจำนวนอิเล็กตรอนที่วิ่งวนรอบนิวเคลียสของอะตอมที่เป็นกลาง เช่น ไฮโดรเจน (H) มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 เลขอะตอม เดิมใช้หมายถึงลำดับของธาตุในตารางธาตุ เมื่อ ดมิทรี อีวาโนวิช เมนเดลีเยฟ (Dmitry Ivanovich Mendeleev) ทำการจัดกลุ่มของธาตุตามคุณสมบัติร่วมทางเคมีนั้น เขาได้สังเกตเห็นว่าเมื่อเรียงตามเลขมวลนั้น จะเกิดความไม่ลงรอยกันของคุณสมบัติ เช่น ไอโอดีน (Iodine) และเทลลูเรียม (Tellurium) นั้น เมื่อเรียกตามเลขมวล จะดูเหมือนอยู่ผิดตำแหน่งกัน ซึ่งเมื่อสลับที่กันจะดูเหมาะสมกว่า ดังนั้นเมื่อเรียงธาตุในตารางธาตุตามเลขอะตอม ตารางจะเรียงตามคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ เลขอะตอมนี้ถึงแม้โดยประมาณ แล้วจะแปรผันตรงกับมวลของอะตอม แต่ในรายละเอียดแล้วเลขอะตอมนี้จะสะท้อนถึงคุณสมบัติของธาตุ เฮนรี โมสลีย์ (Henry Moseley) ได้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการกระเจิงของ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ์ (x-ray) ของธาตุ และตำแหน่งที่ถูกต้องบนตารางธาตุ ในปี ค.ศ. 1913 ซึ่งต่อมาได้ถูกอธิบายด้วยเลขอะตอม ซึ่งอธิบายถึงปริมาณประจุในนิวเคลียส หรือ จำนวนโปรตอนนั่นเอง ซึ่งจำนวนของโปรตอนนี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ หมวดหมู่:อะตอม ลเขอะตอม ลเขอะตอม.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การสลายให้อนุภาคแอลฟาและอนุภาคแอลฟา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การสลายให้อนุภาคแอลฟาและอนุภาคแอลฟา
การเปรียบเทียบระหว่าง การสลายให้อนุภาคแอลฟาและอนุภาคแอลฟา
การสลายให้อนุภาคแอลฟา มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ อนุภาคแอลฟา มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 10.26% = 4 / (19 + 20)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การสลายให้อนุภาคแอลฟาและอนุภาคแอลฟา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: