โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การว่าราชการในวัดและไทระ โนะ คิโยะโมะริ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การว่าราชการในวัดและไทระ โนะ คิโยะโมะริ

การว่าราชการในวัด vs. ไทระ โนะ คิโยะโมะริ

การว่าราชการในวัด (院政 insei; cloistered rule) เป็นการปกครองแผ่นดินญี่ปุ่นรูปแบบหนึ่งในยุคเฮอัง ซึ่งจักรพรรดิญี่ปุ่นสละราชบัลลังก์แล้วแต่ยังคงพระราชอำนาจและอิทธิพลไว้อยู่ จักรพรรดิที่สละราชย์เหล่านี้มักเสด็จไปประทับในวัด แต่ยังคงควบคุมราชการต่อไปเพื่อคานอำนาจกับผู้สำเร็จราชการแทนจักรพรรดิพระองค์ใหม่และเหล่าแม่ทัพนายกอง ส่วนจักรพรรดิพระองค์ใหม่ก็ทำหน้าที่แต่ในทางประเพณีหรือทางการNussbaum, Louis-Frédéric. ทระ โนะ คิโยะโมะริ (ญี่ปุ่น: たいら の きよもり Taira no Kiyomori หรือ 平清盛 Taira Kiyomori ค.ศ. 1118 - ค.ศ. 1181) หรือ คิโยะโมะริแห่งไทระ ซะมุไรซึ่งเรืองอำนาจขึ้นปกครองญี่ปุ่นในช่วงปลายยุคเฮอังในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถือเป็นชนชั้นซะมุไรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ขึ้นปกครองประเท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การว่าราชการในวัดและไทระ โนะ คิโยะโมะริ

การว่าราชการในวัดและไทระ โนะ คิโยะโมะริ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กบฏปีโฮเง็งยุคคะมะกุระยุคเฮอังสงครามเก็มเปจักรพรรดิชิระกะวะจักรพรรดิโทะบะเซ็สโซและคัมปะกุ

กบฏปีโฮเง็ง

กบฏปีโฮเง็ง (Hōgen Rebellion;; 28 กรกฎาคม – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1156) เป็นสงครามกลางเมือง ช่วงสั้น ๆ ที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะกับอดีตจักรพรรดิซุโตะกุ หลังจากเสร็จสิ้นสงครามที่ยาวนานถึง 20 วันปรากฎว่าฝ่ายอดีตจักรพรรดิซุโตะกุเป็นฝ่ายพ่ายแพ้โยะรินะงะตายในที่รบส่วนทะเมะโยะชิและทะดะมะซะถูกประหารชีวิตทางด้านทะเมะโตะโมะบุตรชายของทะเมะโยะชิและน้องชายของโยะชิโตะโมะหนีรอดไปได้ส่วนอดีตจักรพรรดิและเชื้อพระวงศ์ถูกเนรเทศไปจังหวัดคะงะวะ และสวรรคตที่นั่น และจากสงครามครั้งนี้ทำให้โยะชิโตะโมะได้ก้าวขึ้นมาเป็นประมุขคนใหม่ของตระกูลมินะโมะโตะสายเซวะเก็นจิและทำให้ตระกูลไทระและมินะโมะโตะก้าวขึ้นมาเป็นตระกูลที่มีอำนาจในเฮอัง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

กบฏปีโฮเง็งและการว่าราชการในวัด · กบฏปีโฮเง็งและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคคะมะกุระ

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี..

การว่าราชการในวัดและยุคคะมะกุระ · ยุคคะมะกุระและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

การว่าราชการในวัดและยุคเฮอัง · ยุคเฮอังและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก็มเป

งครามเก็มเป เป็นสงครามอันเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่าง 2 ตระกูลใหญ่ปลายยุคเฮอัง ของญี่ปุ่น จากสงครามครั้งนี้ทำให้ตระกูลไทระพ่ายแพ้และต้องสูญสิ้นอำนาจ ในขณะที่ตระกูลมินะโมะโตะก็เข้าครองอำนาจ และสถาปนารัฐบาลโชกุนคะมะกุระ อาจกล่าวได้ว่า สงครามครั้งนี้เป็นเส้นแบ่งระหว่างยุคเฮอังและยุคคะมะกุร.

การว่าราชการในวัดและสงครามเก็มเป · สงครามเก็มเปและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะ (Emperor Shirakawa) จักรพรรดิองค์ที่ 72 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 1073 - ค.ศ. 1087.

การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิชิระกะวะ · จักรพรรดิชิระกะวะและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโทะบะ

มเด็จพระจักรพรรดิโทะบะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 74Imperial Household Agency (Kunaichō): ครองราชย์ในช่วงปี..

การว่าราชการในวัดและจักรพรรดิโทะบะ · จักรพรรดิโทะบะและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

การว่าราชการในวัดและเซ็สโซและคัมปะกุ · เซ็สโซและคัมปะกุและไทระ โนะ คิโยะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การว่าราชการในวัดและไทระ โนะ คิโยะโมะริ

การว่าราชการในวัด มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไทระ โนะ คิโยะโมะริ มี 35 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 12.50% = 7 / (21 + 35)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การว่าราชการในวัดและไทระ โนะ คิโยะโมะริ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »