การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ
การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557 vs. ประธานาธิบดีสหรัฐ
มีการลงประชามติว่าประเทศสกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่ในวันที่ 18 กันยายน 2557 หลังความตกลงระหว่างรัฐบาลสกอตแลนด์และสหราชอาณาจักร มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ซึ่งกำหนดการจัดการลงประชามตินี้ในวันที่ 21 มีนาคม 2556 ผ่านรัฐสภาสกอตแลนด์เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 และได้รับพระบรมราชานุญาตในวันที่ 17 ธันวาคม 2556 คำถามลงประชามติที่คณะกรรมการการเลือกตั้งแนะนำจะเป็น "สกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่" ผู้ออกเสียงลงคะแนนตอบได้เพียงใช่หรือไม่ ผู้อยู่อาศัยทุกคนในสกอตแลนด์ที่มีอายุเกิน 16 ปีสามารถออกเสียงลงมติได้โดยมีข้อยกเว้นบางประการ รวมมีกว่า 4 ล้านคน ข้อเสนอเอกราชต้องการคะแนนเสียงข้างมากปรกติจึงจะผ่าน เยสสกอตแลนด์ (Yes Scotland) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักสนับสนุนเอกราช ขณะที่เบตเทอร์ทูเกเธอร์ (Better Together) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักคัดค้านเอกราช ขณะที่กลุ่มรณรงค์ พรรคการเมือง ธุรกิจ หนังสือพิมพ์และปัจเจกบุคคลสำคัญอื่นอีกมากเกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน ปัญหาสำคัญที่ถูกหยิบยกระหว่างการรณรงค์มีเงินตราซึ่งสกอตแลนด์หลังได้รับเอกราชจะใช้ รายจ่ายสาธารณะและน้ำมันทะเลเหนือ การนับคะแนนเริ่มหลังปิดการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งเมื่อ 22:00 BST (21:00 UTC) ของวันที่ 18 กันยายน เช้าวันที่ 19 กันยายน 2557 เมื่อนับการลงมติทั้งหมดแล้ว 55.3% ลงมติคัดค้านเอกราช หลังจากนั้น อเล็กซ์ ซัลมอนด์ นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคแห่งชาติสกอตเพื่อแสดงความรับชอบต่อผลประชามต. ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ
การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ
การเปรียบเทียบระหว่าง การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ
การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557 มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ ประธานาธิบดีสหรัฐ มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 26)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557และประธานาธิบดีสหรัฐ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: